#เห็บ
Explore tagged Tumblr posts
Text
การป้องกันและวิธีรักษาเห็บหมา
การป้องกันและวิธีรักษาเห็บหมา
ปัญหาการกลับมาครั้งแล้วครั้งเล่าของหมัดแมว เห็บหมาเกิดจากอะไร? มีวิธีป้องกันและรักษาหรือไม่?
อากาศร้อนชื้นในเมืองไทยสำหรับคนและสัตว์แล้วอาจจะทำให้เจ็บไข้ได้ป่วย แต่คุณๆทราบหรือไม่ว่าสำหรับพวกปรสิตภายนอกอย่างเห็บและหมัดนั้นจัดว่าเป็นสวรรค์เลยทีเดียว ดังนั้นเราจำเป็นต้องรู้จักเห็บและหมัดเสียก่อน เพื่อป้องกันไม่ให้สุนัขและแมวของเราต้องกลายเป็น��ั้งบ้านและอาหารให้พวกมันโดยไม่ตั้งใจ ซึ่งวงจรชีวิตและการทำให้เกิดโรคจากเห็บหมัดนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละชนิด ซึ่งเจ้าของสัตว์เลี้ยงควรเรียนรู้เกี่ยวกับปรสิตเหล่านี้ เพื่อป้องกันและหาวิธีรักษาเห็บหมารวมไปถึงกําจัดเห็บแมว และการกําจัดหมัดแมวให้ได้ผล แต่อย่างไรก็ดีสำหรับเห็บในแมวนั้นโอกาสที่จะเจอค่อนข้างน้อยมาก ยกเว้นจะติดเห็บจากหมา ดังนั้นบ้านไหนที่เลี้ยงทั้งหมาและแมวอยู่ด้วยกัน จะต้องให้ความสำคัญในการดูแลรักษาเห็บหมาและกำจัดหมัดแมวอย่างสม่ำเสมอ
วงจรชีวิต
เห็บ
ผสมพันธุ์บนตัวสุนัข
เห็บเพศเมียที่มีไข่เต็มท้อง ดูดเลือดจนตัวอ้วนแล้วทิ้งตัวลงจากสุนัขเพื่อไปวางไข่ตามพื้น
ไข่ฟักเป็นตัวอ่อน (มี 6 ขา) คอยหาสุนัขแล้วขึ้นเกาะเพื่อดูดเลือด
ตัวอ่อนเมื่อดูดเลือดสุนัขจนอิ่มจะลงจากสุนัข (ครั้งที่ 2) และลอกคราบเติบโตเป็นตัวกลางวัย (มี 8 ขา)
ตัวกลางวัยคอยหาสุนัขขึ้นเกาะเพื่อดูดเลือดสุนัข
เมื่อดูดเลือดจนตัวโตเต็มที่จะทิ้งตัวลงจากสุนัข (ครั้งที่ 3) และลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย (มี 8 ขา)
หมัด
หมัดนั้นจะอยู่บนตัวสัตว์ตลอดชีวิต ถ้าออกจากสัตว์ก็จะตายในที่สุด
การติดต่อ
เห็บเจริญเติบโตบนพื้นดิน จากนั้นรอโอกาสที่สัตว์เลี้ยงของเราผ่านมาจะได้กลับขึ้นไปอยู่บนตัวสัตว์เหมือนเดิมเพื่อดูดเลือดและผสมพันธุ์ ส่วนหมัด เป็นการกระโดดจากสัตว์ตัวนึงไปยังอีกตัวนึง
อันตรายที่ได้รับ
เห็บ
เห็บสามารถนำโรคพยาธิเม็ดเลือด (Ehrlichiosis, Babesiosis ,Hepatozoonosis ,Anaplasmosis) ซึ่งจะก่อปัญหาต่างๆตามมาได้ เช่น โรคเลือดจาง โรคตับ โรคไต เป็นต้น อาการที่มักเริ่มสังเกตได้คือ ซึมลง เบื่ออาหาร มีไข้ตัวร้อน เ��งือก หรือลิ้น ซีดลง มีเลือดกำเดาไหล เป็นต้น
ปัญหาภูมิแพ้ผิวหนัง
หมัด
โรคพยาธิตัวตืดเม็ดแตงกวา
หมัดทำให้เกิดโรคพยาธิในเม็ดเลือดได้โดยเฉพาะในแมว
ปัญหาภูมิแพ้ผิวหนัง
โลหิตจาง
การป้องกันและกำจัด
เคยสงสัยไหมว่าปัญหาการกลับมาของหมัดแมว เห็บหมาเกิดจากอะไร ทำไมทั้งหยดยา ฉีดยาก็แล้ว เห็บก็ไม่หมดไปสักที ก็เพราะว่าเห็บออกจากตัวสัตว์มาหลบอยู่ในสิ่งแวดล้อมนั่นเอง ดังนั้นการกำจัดเห็บให้ได้ผลต้องทำทั้งหมด ทั้งตัวสัตว์และสิ่งแวดล้อม เราสามารถกําจัดเห็บหมาได้ด้วยตัวเองง่าย ๆ ที่บ้าน โดยนี่เป็นวิธีกำจัดเห็บขึ้นบ้านที่คุณสามารถลองไปทำเองได้
ปัจจุบันมีวิธีรักษาเห็บหมาด้วย��ารควบคุมเห็บบนตัวสัตว์เลี้ยงหลายวิธี โดยใช้ยารูปแบบต่างๆ เช่น
ยาแบบสเปรย์ วิธีนี้จะให้ผลในการรักษาได้ดีและรวดเร็วเหมาะสำหรับกรณีมีเห็บหมัดเยอะๆ
ยาหยอดหมัดแมว-หมา หรือยาหยดเห็บหมัด ยาประเภทหยอดหรือหยดหลังเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกเหมาะสำหรับกรณีใช้ป้องกันหรือในกรณีที่มีเห็บน้อยๆ
ยากินแบบรายเดือน หรือ รายสามเดือน
แบบอื่นๆ เช่นยาผสมน้ำอาบตัว (ซึ่งมีขอบเขตความปลอดภัยต่ำกว่า) ส่วนแบบแป้งหรือแชมพูอาจจะมีประสิทธิภาพที่ต่ำกว่า
ปลอกคอป้องกันเห็บหมัด
อาจจะต้องศึกษาวิธีใช้ให้ถูกต้องและปลอดภัยหรืออาจจะต้องปรึกษาสัตวแพทย์ก่อนการใช้
การควบคุมที่อยู่ตามสิ่งแวดล้อม
จำเป็นต้องควบคุมและกำจัดเห็บกับสุนัขทุกตัวที่เลี้ยงไว้บริเวณเดียวกันหรือใกล้เคียง
ควรหลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่มีเห็บหมัด
ควรทำการป้องกันเห็บหมัดอย่างต่อเนื่องทุกเดือน
Ticks on dogs , การป้องกันเห็บหมา , วิธีรักษาเห็บหมา , เห็บหมา , เห็บ , Ticks
ที่มา :: https://thonglorpet.com/diary/75
3 notes
·
View notes
Text
0 notes
Text
บอกต่อ 7 วิธีกำจัดเห็บ หมัด สำหรับน้องหมา และน้องแมว
ช่วงนี้เป็นช่วงที่ละเอียดอ่อนที่สุด จะเรียกว่าวิกฤตของประเทศก็ว่าได้การที่เราดูแลตัวเองและครอบครัว หรือแม้กระทั้งทำ Big Cleaning บ้านยกหลังแล้ว แต่เจ้าตัวเล็กหรือน้องหมาของคุณนั้น sa gaming ดูแลเค้าดีพอหรือยัง ช่วงนี้ยิ่งต้องจับอาบน้ำแปลงขนบ่อยๆ และ วิธีดูแลน้องหมา สิ่งสำคัญที่มองข้ามไม่ได้คือ เห็บ หมัด ต่อให้คุณมั่นใจว่าน้องหมาอาบน้ำสะอาดแล้วแต่เจ้าเห็บตัวร้ายก็มักจะแฝงตัวมาตามขนได้ ดังนั้นอะไรที่ป้องกันได้ก็ควรป้องกันทุกวิถีทางนะครับ วันนี้เราเลยจะขอแชร์ วิธีกำจัดเห็บ หมัด น้องหมาและน้องแมว ไปอ่านกันได้เลย
ตัดขนไปเลยยิ่งช่วงนี้อากาศเริ่มร้อนหนักขึ้นกว่าเดิม ขนาดตัวเราเองยังร้อนแทบทนไม่ไหว น้องหมาของเรานั้นก็ร้อนไม่ต่าง ที่สำคัญการตัดขนจะยิ่งช่วยให้เห็นเห็บหมัดได้ง่ายขึ้น พอเราเห็นก็จะได้รีบจัดการได้ทันที
เลือกแชมพูที่กำจัดเห็บหมัดได้โดยเฉพาะ เพราะการอาบน้ำบ่อยๆ ด้วยแชมพูกำจัดเห็บหมัดก็เป็นอีกทางที่จะช่วย��้องหมาของเราให้รอดพ้นจากเห็บหมัดตัวร้ายได้ ติดต่อ sa gaming
ยากำจัดเห็บหมัด ถ้าอยากเอาชัวร์หลังจากอาบน้ำเสร็จแล้วก็ควรใส่ยากำจัดเห็บหมัดด้วย
แป้งกำจัดเห็บ อาบน้ำปะแป้งต้องทำให้ครบสูตรนะครับ ใช้แป้งกำจัดเห็บโรยบนตัวน้อง จะช่วยป้องกันเห็บแพร่พันธุ์ได้ดีในกรณีที่น้องมีเห็บน้อย
ยาหยอดบนหลังคอ เพื่อให้ตัวยาซึมไปกับผิวหนังน้อง แนะนำว่าหลังจากหยอดยาไม่ควรอาบน้ำ ควรปล่อยทิ้งไว้สัก 2 วัน เพื่อประสิทธิภาพในการแพร่กระจายของตัวยา
ทำความสะอาดที่นอน ต่อให้เราทำทุกวิถีทางแล้วแต่จะมาลืมทำความสะอาดที่นอนน้องหมาไม่ได้นะครับ เพราะที่นอนนี่แหละตัวดี ตามพวกเบาะหรือหมอนอาจจะมีเห็บหมัดอยู่ก็ได้ ดังนั้นควรหมั่นทำความสะอาดที่นอนน้องด้วยนะครับ
สเปรย์กำจัดเห็บ สามารถพ้นได้ทั้งตัวน้องและที่นอนน้อง หลังจากอาบน้ำน้องเสร็จแล้วก็ควรพ้นทันที หรือหลังจากทำความสะอาดที่นอนน้องเสร็จแล้วก็ควรฉีดสเปรย์พ้นซ้ำไว้อีกที
นอกจากการกำจัดและควบคุมประชากรเห็บบนตัวสัตว์แล้ว ในสิ่งแวดล้อมก็เป็นอีกปัจจัยที่จะละเลยไม่ได้ครับ เพราะจากวงชีวิต จะเห็นได้ว่า เห็บไม่ได้อาศัยบนตัวสัตว์ตลอดเวลาแต่ตกลงมาอาศัยบนพื้นด้วย และเห็บที่พบบนตัวสัตว์นั้นเป็นเพียงส่วนน้อยเมื่อเทียบกับในสิ่งแวดล้อม ดังนั้นหากเราไม่กำจัดเห็บในสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไปด้วย การกำจัดและควบคุมประชากรเห็บของเราอาจจะล้มเหลว ดาวน์โหลด sa gaming หรือใช้เวลายาวนานกว่าจะควบคุมได้ครับ วิธีการกำจัดเห็บในสิ่งแวดล้อมนั้นมีด้วยกันหลายวิธี แต่ที่นิยมและได้ผลที่สุด คือ การใช้สารธรรมชาติ หรือสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการกำจัดเห็บ ผสมน้ำเพื่อเจือจางในอัตราส่วนที่เหมาะสม ฉีดพ่นทิ้งไว้ตามบริเวณบ้าน ซอก มุม หรือในสนามหญ้า เพื่อกำจัดเห็บในระยะที่อาศัยบนพื้น โดยต้องทำเป็นประจำ ซึ่งอาจจะฉีดพ่นประมาณเดือนละ 1-2 ครั้งก็เพียงพอ และในขณะที่ทำการฉีดพ่น ควรกักบริเวณสุนัขไม่ให้เข้ามาในบริเวณที่ทำการฉีดพ่นยา เพื่อป้องกันไม่ให้สัตว์เลี้ยงได้รับสารพิษสู่ร่างกาย
#ดาวน์โหลด sa gaming#sa gaming#ติดต่อ sa gaming#กำจัดเห็บ#เห็บ#วิธีกำจัดเห็บ#ยากำจัดเห็บหมัด#แป้งกำจัดเห็บ#วิธีดูแลน้องหมา
1 note
·
View note
Video
เจ้าของหมาที่ซื้อยาหยดเห็บที่เป็นยาเถื่อนมาใช้กับน้อง นี่คืออาการของฤทธิ์ยาค่ะ ที่น้องได้รับค่ะ ทรมานแค่ไหน เจ็บแค่ไหน น้องรู้ค่ะว่าคุณรักน้อง แต่เพิ่มราคาอีกนิดได้ไหม พ่อกับแม่ หนูยังไม่อยากตาย .. กรณีศึกษา!!! #อันตรายมาก #หยดยาและกินยารักษาเห็บหมัดที่ไม่มีทะเบียน ที่เห็นอยู่คือน้องเข้ามารับการรักษาในสภาวะฉุกเฉิน ในภาวะที่ช้าไป ผลตรวจคือเป็น #พยาธิเม็ดเลือด อันเกิดจาก #เห็บ เกล็ดเลือดต่ำ ต้องให้เลือด น้องมีสภาวะตับไตล้มเหลว เนื่องจากหยดยาและกินยารักษาเห็บหมัดที่ไม่มีทะเบียน ทำใช้ชัก #ป้องกันเห็บ #รักษาสัตว์เพิ่มพูน #เพิ่มพูนรักษ์สัตว์
#เห็บ#หยดยาและกินยารักษาเห็บหมัดที่ไม่มีทะเบียน#รักษาสัตว์เพิ่มพูน#ป้องกันเห็บ#เพิ่มพูนรักษ์สัตว์#อันตรายมาก#พยาธิเม็ดเลือด
0 notes
Text
สุนัขเลียอุ้งเท้า เกิดขึ้นจากพฤติกรรมใดเป็นหลัก
สุนัขเลียอุ้งเท้า เพราะสาเหตุใด โดยน้องหมาชอบแทะเท้า และ เลียเท้าตลอดเวลา เกิดจากอะไรคะ? มีอันตรายหรือไม่? เจ้าของสุนัขหลายคนคงเคยเห็นพฤติกรรมการกัด เลียอุ้งเท้า ข่วนหู และเอาหน้าถูกำแพง อาการเหล่านี้คือพฤติกรรมการคันของสุนัข ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากปัญหาผิวหนัง อาการคันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของสุนัข และ ยังสร้างความรำคาญให้กับเจ้าของสุนัขจำนวนมากอีกด้วย หัวข้อในวันนี้ขอสรุปสาเหตุของอาการคันของสุนัข
ความไม่สมดุลทางโภชนาการ
เนื่องจากอาหารมีบทบาทสำคัญในการทำให้ขนและผิวหนังแข็งแรง นอกจากนี้ยังส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันที่มีประสิทธิภาพ หากคุณภาพทางโภชนาการของสุนัขไม่ดีไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย อาจทำให้ผิวหนังแห้งและติดเชื้อได้ง่าย ก่อให้เกิดปัญหาผิวหนังและอาการคัน ดังนั้นสุนัขควรกินอาหารที่มีคุณภาพสูงและกินในสิ่งที่ร่างกายต้องการ มีเม็ดมาตรฐานที่จำหน่ายทั่วไป หรือเลือกวัตถุดิบคุณภาพสูงและปรุงอาหารด้วยตัวคุณเอง นอกจากนี้ยังเต็มไปด้วยวิตามินหรือโอเมก้า 3 และโอเมก้า 6 เพื่อช่วยให้ผิวแข็งแรงและกระจ่างใสขึ้น
ปรสิตภายนอก
พยาธิที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ เห็บ หมัด เหา เป็นต้น และบริเวณที่สุนัขกัด���ะมีอาการคัน มีสะเก็ดพุพองตามร่างกาย หมัดยังสามารถทำให้ผิวหนังระคายเคืองจากน้ำลายของหมัด ปรสิตที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ได้แก่ ตัวไรทั่วไป โรคเรื้อนเปียก (demodex) อาการคันจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง โรคเรื้อนเปียกไม่ติดต่อในสุนัข สาเหตุหลักคือความทุกข์ทรมานในระยะยาวจากโรคอื่นๆ หรือโรคเกี่ยวกับฮอร์โมนเนื่องจากภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ไรขี้เรื้อนแห้ง (sarcoptes) ในสุนัขมีอาการคันมาก เป็นโรคติดต่อระหว่างสุนัขที่อาศัยอยู่ด้วยกัน และทำให้เกิดอาการแพ้ในผู้ที่สัมผัสได้การรักษาทำได้ง่ายกว่าและใช้เวลาน้อยกว่าโรคเรื้อนเปียก ไรหู (otodectes) อาการคันหูในสุนัข ขี้หูมีสีดำหรือน้ำตาลเข้ม ควรทำการวินิจฉัยโดยการตรวจผิวหนังโดยสัตวแพทย์ ดูปรสิตผ่านกล้องจุลทรรศน์
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
ซึ่งรวมถึงเชื้อรา แบคทีเรีย ยีสต์ การติดเชื้อรามักปรากฏเป็นกลุ่ม Dermatophyte ไม่คันในสุนัข แต่ติดต่อระหว่างสัตว์และระหว่างสัตว์เลี้ยงกับคนการติดเชื้อยีสต์พบได้บนผิวหนังปกติและไม่ก่อให้เกิดอาการทางผิวหนัง แต่ถ้ามีสาเหตุอื่นๆ เช่น ภูมิแพ้ ฮอร์โมน ฯลฯ ยีสต์ก็จะเพิ่มจำนวนและทำให้เกิดโรคผิวหนังได้ คุณสมบัติที่ใหญ่ที่สุดคือผิวมัน มีกลิ่นและคัน ผิวหนังมีสีเข้มและหนา ในสุนัขปกติ แบคทีเรียจะไม่ทำให้เกิดปัญหาผิวหนังเหมือนยีสต์ เพราะร่างกายของน้องหมามีกลไกปกป้องผิวหนังจากแบคทีเรีย แต่หากมีสิ่งใดทำลายผิว รวมทั้งการแพ้ การอักเสบ บาดแผลหรือรอยถลอกที่ส่งผลต่อกลไกการป้องกันของผิวหนัง แบคทีเรียเหล่านี้จะเพิ่มจำนวนขึ้นและสามารถเข้าสู่ผิวหนังทำให้เกิดการติดเชื้อตามมาได้ สุนัขของคุณจะคัน
โรคภูมิแพ้ผิวหนัง
การแพ้เป็นลักษณะเฉพาะของสุนัข สารก่อภูมิแพ้สามารถทำให้เกิดผิวหนังอักเสบในสุนัขที่แพ้ง่ายเท่านั้น สุนัขที่ไม่แพ้อีกตัวไม่แสดงอาการแม้ว่าจะได้รับอาหารและสภาพแวดล้อมเดียวกัน แพ้สุนัข
0 notes
Text
สุดสะพรึง! อุทาหรณ์ 'คนรักสัตว์' เจ็บตาหนัก พบหมอเจอ 'เห็บ' กัดที่ตา #SootinClaimon.Com
สุดสะพรึง! อุทาหรณ์ ‘คนรักสัตว์’ เจ็บตาหนัก พบหมอเจอ ‘เห็บ’ กัดที่ตา #SootinClaimon.Com
#SootinClaimon.Com : ขอบคุณแหล่งข้อมูล : หนังสือพิมพ์แนวหน้า https://www.naewna.com/likesara/610418 วันพฤหัสบดี ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2564, 15.27 น. บนโลกโซเชียลได้มีการแชร์คลิปวิดีโอ สำหรับคนที่รักสัตว์ให้ระมัดระวัง โดยสมาชิกผู้ใช้ติ๊กต็อกชื่อ “phetchabunppc108” @คลินิกตาหมอชาญ ซึ่งได้โพสต์เรื่องราวที่ใกล้ตัวเรามากๆ และไม่คิดเลยว่าจะเกิดขึ้น…
View On WordPress
0 notes
Photo
Nobico เครื่องดักจับไรฝุ่น เครื่องกำจัดฝุ่นละออง สั่งซื้อคลิ๊ก -> https://t.youpik.in.th/t.QeO5 ราคาพิเศษ: ฿499.00 -61% เครื่องไล่ไรฝุ่นขนาดจิ๋ว ใช้เทคโนโลยีคลื่นอัลตร้าโซนิค ดีไซส์สวยงามไม่เกะกะ เปะปังกระดังงา เข้าได้กับทุกการตกแต่ง แถมใช้งานแสนง่าย แค่เสียบปลั๊กทิ้งไว้ ไม่ต้องทำอะไรเยอะ กดปุ่มและวางไว้ เหลือบ ไร เห็บ หนีหัวซุกหวซุนกันเลยทีเดียว🕸🕸 https://www.instagram.com/p/B-jGs2lpqPf/?igshid=psyafnrbeeg1
0 notes
Photo
คลิกเลย -> https://t.youpik.in.th/t.0SeH ช้อปเลย: ฿999.00 -23% | Nobico เครื่องดักจับไรฝุ่น เครื่องกำจัดฝุ่นละออง แบบระบ เครื่องไล่ไรฝุ่นขนาดจิ๋ว ดีไซส์เปะปังกระดังงา เข้าได้กับทุกการตกแต่ง แถมใช้งานแสนง่าย ไม่ต้องทำอะไรเยอะ แค่กดปุ่มและวางไว้ เหลือบ ไร เห็บ หนีหัวซุกหวซุนกันเลยทีเดียว🕸🕸 เครื่องไล่ไรฝุ่นขนาดจิ๋ว ดีไซน์สวยงามไม่เกะกะ ให้ง่ายแค่เสียบปลั๊กทิ้งไว้ ใช้เทคโนโลยีคลื่นอัลตร้าโซนิค #ทำไม555 #ทำได้เร็ว #ทำได้เลย #แล้วทำให้คิดถึงพระองค์สุดหัวใจ #โอนเงินทำบุญได้ที่หมายเลขบัญช #ไม้เข้าจากไต้หวันทางเรือค่ะ #และทีมผู้กำกับทำงานแบบผสานกำลังดับเบิ้ล #Braun #ไต้ฝุ่น“คัมมูริ” #ไต้ฝุ่นคัมมู https://www.instagram.com/p/B5_3ux2gpCa/?igshid=19o0az95r1n03
#ทำไม555#ทำได้เร็ว#ทำได้เลย#แล้วทำให้คิดถึงพระองค์สุดหัวใจ#โอนเงินทำบุญได้ที่หมายเลขบัญช#ไม้เข้าจากไต้หวันทางเรือค่ะ#และทีมผู้กำกับทำงานแบบผสานกำลังดับเบิ้ล#braun#ไต้ฝุ่น#ไต้ฝุ่นคัมมู
0 notes
Text
Ticks on dogs
Ticks are spider-like small parasites that suck blood from other animals. They have eight legs, with an egg-shaped body that will become larger and darker when filled with blood. Unlike fleas, they don't fly or jump. Instead, they climb or drop on your pet's coat when they brush past whatever they're sitting on.
Ticks are common in woodland and grassland and, although active throughout the year, you'll most likely see them between spring and autumn. Cats are less likely to get ticks than dogs, but it can still happen.
How to remove a tick
Tick bites can carry diseases, so it's important to remove them straight away. When removing a tick, make sure not you don't squeeze the tick's body or leave the head in. If you squeeze its body or leave the head in, this can push blood back into your pet, which will increase the chance of them getting a disease.
Tick removal tool
To avoid squeezing the body or leaving the head in, you'll need to twist the tick off. This can be done using a tick removal tool, which can be picked up at pet shops or the vets. Your vet will be able to show you the best way to remove a tick by twisting.
If you're unsure how to remove a tick, please speak to your vet first. Don't try to burn them off or use lotion to suffocate them, as this won't prevent your pet from picking up a disease.
Lyme disease
Ticks will bite and feed on your dog or cat for up to a few days, and drop off once they've had enough. During this time, it's possible the tick could give your pet a disease.
Ticks carry a serious bacterial infection called Lyme disease. Dogs, cats and humans can all get Lyme disease, although it's uncommon in cats.
Symptoms in cats and dogs include:
Depression
Loss of appetite
Fever
Lameness
Swollen and painful joints
Swollen lymph nodes
Lethargy
Treatment for Lyme disease
If you catch it early, Lyme disease can be treated with antibiotics. If you think your dog or cat has Lyme disease, contact your vet, who will run tests and start treatment.
Tick prevention
Stop ticks from biting your pet by using a tick treatment that either kills or repels them if they attach themselves. There are different types of treatments, such as spot-on treatments and tablets. Ask your vet for the best tick treatment.
Be careful! Never use dog tick medicine on cats or vice versa. Some dog tick treatments contain chemicals that are toxic to cats, and can even be fatal to them.
Humans can get ticks too
Take precautions when walking your dog and wear long-sleeved tops and trousers to cover your skin. You can also use insect repellent to stop ticks.
If you're bitten, use the tick twisting tool to remove the tick. If you're concerned, please speak with your GP.
Ticks on dogs , การป้องกันเห็บหมา , วิธีรักษาเห็บหมา , เห็บหมา , เห็บ , Ticks
CR :: https://www.rspca.org.uk/adviceandwelfare/pets/general/ticks
3 notes
·
View notes
Photo
ไรฝุ่น ต้นเหตุที่ทำให้เกิดโรคภูมิแพ้ ไรฝุ่น คือ เป็นสัตว์จำพวกแมลง มี 8 ขา แต่มีลักษณะคล้ายแมงมุม เห็บ หมัด สัตว์ที่มีขนาดเล็กไม่สามารถมองด้วยตาเปล่าเห็นได้ ต้องมองผ่านกล้องจุลทรรศ์ มีขนาด 250-300 ไมครอน ตัวไรฝุ่นไม่มีตา ไม่มีระบบหายใจ จากรายงานเกี่ยวกับตัวไรฝุ่นทั่วโลก มีอยู่ 13 สายพันธุ์ที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย ตัวไรฝุ่นจะกินเซลล์ผิวหนังหของคนเราและของสัตว์ที่หลุดออกมา ใยผ้า และขนสัตว์เป็นอาหาร โดยปกติผิวหนังคนเราจะหลุดวันละ 1.5 กรัม ซึ่งมากพอสำหรับเลี้ยงไรฝุ่นให้เจริญเติบโตได้ ไรฝุ่นเพศเมียจะวางไข่ราวๆ 20-80 ฟอง มีระยฟักตัวที่ 8-12 วัน และมีอายุขัยประมาณ 60 วัน คุณทราบไหมว่าเราสามารถพบไรฝุ่นถึง 500 ตัวจากฝุ่นในบ้าน 1 กรัม หรือ พบไรฝุ่น 2 ล้านตัวจากเตียง 1 หลัง และ น้ำหนัก 1ใน 10 ของหมอนเก่าๆ คือไรฝุ่น ไรฝุ่นพบได้ในที่ๆมีความอบอุ่น อุณภูมิประมาณ […] ... อ่านต่อที่นี่ ไรฝุ่น ต้นเหตุที่ทำให้เกิดโรคภูมิแพ้
0 notes
Text
หมาแมวที่ไม่ได้เป็นโรคพิษสุนัขบ้า ก็ยังเสี่ยงทำให้เราเสียชีวิตได้
พฤติกรรมที่เราเห็นกันอยู่บ่อยๆ ในสังคมไทย คือการที่มีเจ้าหมาน้อย เหมียวน้อย เข้ามาเดินป้วนเปี้ยน หรือคลอเคลียใกล้ๆ เราตามร้านอาหารข้างทาง จนบางทีเราก็ทนความน่ารักของพวกมันไม่ไหว จนต้องเข้าไปให้อาหาร ลูบหัวลูบตัวกันไป หรือแม้กระทั่งหมาแมวของเรา หรือของเพื่อนที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามาเป็นดิบดี ก็ยังเสี่ยงอันตรายจนถึงขั้นทำให้เราเสียชีวิตได้เลยทีเดียวนะ
ที่ประเทศญี่ปุ่นมีรายงานว่า หญิงวัย 51 ปี ป่วยหนักจนเสียชีวิต หลังจากถูกแมวจรจัดที่กำลังป่วยอยู่กัดเข้า ระหว่างที่เธอพยายามอุ้มน้องแมวไปส่งที่โรงพยาบาล โดยเธอไม่ได้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าอย่างที่เราคาดการณ์กันเอาไว้ และเธอไม่ได้ติดเชื้อไวรัสจากน้องแมวโดยตรง แต่เป็นการติดเชื้อไวรัสจาก “เห็บ” ที่อาศัยอยู่ภายใต้ขนอันนุ่มปุกปุยของน้องแมว และกัดน้องแมวจนทำให้ป่วยนั่นเอง และคุณป้าไม่ได้ถูกเห็บกัดด้วยนะ แต่โดนน้องแมวที่ป่วยจากการถูกเห็บกัด มากัดเข้าอีกที
อาการของคุณป้า คือเริ่มมีไข้สูง คลื่นไส้ ง่วงซึม และเก��็ดเลือดต่ำ จนมีอาการหนักขึ้นเรื่อยๆ หลังจากโดนแมวจรจัดกัดไปได้ 10 วัน เธอก็เสียชีวิต เธอติดเชื้อไวรัส SFTS (Severe Fever with Thrombocytopenia Syndrome) จากเห็บหมัด แต่คณะแพทย์ชันสูตรศพไม่พบว่ามีรอยกัดจากเห็บ แพทย์จึงวินิจฉัยได้ว่า เป็นการติดเชื้อไวรัส SFTS จากแมวที่ป่วยจากการโดนเห็บหมัดกัดเข้าอีกที ซึ่งนับว่าเป็นการพบการติดเชื้อ SFTS จากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมาสู่คนเป็นครั้งแรกของโลกอีกด้วย
iStock
ทั้งนี้ เชื้อไวรัส SFTS เป็นเชื้อไวรัสที่พบการติดเชื้อในมนุษย์เมื่อไม่นานมานี้ โดยพบในประเทศญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้ สำหรับประเทศญี่ปุ่น มีการพบการติดเชื้อครั้งแรกในปี 2013 โดยพบผู้ติดเชื้อ 266 ราย และเสียชีวิตมากถึง 57 ราย
เพราะฉะนั้นนอกจากจะต้องระมัดระวังในการเข้าช่วยเหลือหมาแมวจรจัดกันมากขึ้นแล้ว โดยอาจสวมถุงมือก่อนเข้าไปช่วยเหลือ ส่วนหมาแมวที่บ้านที่เราเลี้ยงอยู่ ก็ควรหมั่นทำความสะอาด กำจัดเห็บหมัดออกไปด้วย เพราะจริงๆ แล้วนอกจากหมาแมวที่ป่วยจะกัดเรา แล้วเราติดเชื้อไปด้วยแล้ว ตัวของเห็บหมัดเองก็กัดคนได้เหมือนกัน
0 notes
Text
รู้จักโรคระบาดจาก “สัตว์สู่คน” อันตรายใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม
ปัจจุบันมีโรคติดต่ออุบัติใหม่จาก “สัตว์สู่คน” มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ หลายคนอาจยังไม่ทราบว่ามีโรคชนิดใดบ้าง โรคจากสัตว์ติดต่อสู่คนได้อย่างไร และควรระมัดระวังการติดต่อของโรคจากสัตว์ชนิดใดบ้าง Sanook! Health มีข้อมูลจาก มาฝากกัน
โรคระบาด
จาก “สัตว์สู่คน”
ศ.นพ. ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์โรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อธิบายว่า โรคที่มาจากสัตว์ และสามารถติดต่อสู่คนได้ มีทั้งที่มาจากสัตว์ใกล้ตัวอย่างสุนัข แมว ไปจนถึงแมลงอย่าง ยุง ไร ริ้นต่างๆ โดยเชื้อโรคที่ติดต่อได้ไม่มีเพียงเชื้อไวรัสเท่านั้น ยังมีเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อโรคประหลาดๆ อย่างอื่นอีกมากมาย
การติดต่อโรคจากสัตว์สู่คน
การติดต่อโรคจากสัตว์สู่คนมีได้หลายวิธี เช่น
การสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค หรือเป็นพาหะ เช่น จับค้างคาว หนู
สัมผัสกับมูลสัตว์ที่เป็นโรค
ถูกกัดจากสัตว์ที่เป็นโรค เช่น สุนัข แมว กระต่าย
บริโภคสัตว์ที่เป็นโรค เช่น นก หนู หมู วัว ทั้งจากการบริโภคเนื้อสัตว์เหล่านั้นโดยตรง และการชำแหละ หั่น ปรุงเนื้อสัตว์เหล่านั้นด้วยมือของเราเอง ฝุ่นฝอยละอองจากเนื้อสัตว์ และของเหลวต่างๆ ในเนื้อสัตว์อาจเข้าเยื่อบุต่างๆ ในร่างกาย เช่น สูดดมผ่านจมูก หรือนิ้วมือจับเนื้อสัตวมาขยี้ตา ฯลฯ
โดยสัตว์เหล่านี้อาจมีอาการป่วยให้เห็น หรือไม่มีอาการผิดปกติใดๆ เลยก็ได้ เพราะอาจเป็นสัตว์ที่อมโรค หรือเป็นพาหะเท่านั้น
>> ระวัง! 6 โรคร้ายที่ติดต่อจากสัตว์เลี้ยงสู่คนได้
ตัวอย่างกลุ่มโรคที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน
ไข้สมองอักเสบนิปาห์ (ค้างคาว)
โบทูลิซึม (วัว สุนัข ม้า นก)
แอนแทรกซ์ (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแทบทุกชนิดรวมถึงสัตว์ปีกบางชนิด)
แผลหนอนแมลงวัน (แมลงวัน)
พยาธิแส้ม้า (สุนัขบ้าน และสุนัขป่า)
ท็อกโซพลาสโมซิส (แมว แกะ แพะ สุกร สุนัข)
คริปโตคอกโคสิส (วัว สุนัข เฟอร์เร็ต หนูตะเภา ม้า แกะ แพะ สุกร ลามะ และสัตว์ชนิดอื่น)
พยาธิตัวกลม (สุนัข แมว)
ลิชมาเนีย (สุนัข โคโยตี้ สุนัขจิ้งจอก สัตว์แทะ แมว ม้า)
โรคจากการเคลื่อนที่ของตัวอ่อนพยาธิ (สุนัข สุกร กระต่าย แกะ โค สัตว์ตระกูลลิง ไก่ ไก่ป่า แมวน้ำ และสัตว์ชนิดอื่นๆ)
พยาธิปากขอ (สุนัข แมว)
ไข้หวัดนก (สัตว์ปีก)
ไข้สมองอักเสบจากเชื้อไวรัสเวสต์ไนล์ (ค้างคาว ม้า แมว สุนัข สกั้งค์ กระรอก กระต่าย จระเข้ และคน)
ฝีดาษลิง (ลิง และสัตว์ฟันแทะหลายชนิด)
พิษสุนัขบ้า (สุนัข แมว โค กระบือ ม้า และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด)
นิวคาสเซิล (ไก่งวง เป็ด ห่าน นกแก้ว นกพิราบและนกกาน้ำ)
สมองอักเสบญี่ปุน (ม้า ลา สุกร โค แกะ แพะ สุนัข แมว สัตว์ป่า สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และนก)
ติดเชื้อไวรัสเฮนดรา (ม้า ค้างคาว แมว หนูตะเภา สุนัข กระต่าย ไก่)
ติดเชื้อไวรัสฮันตา (สัตว์ฟันแทะที่อาศัยในป่า)
ไข้หวัดใหญ่ (นก สุกร ม้า เฟอร์เร็ต และแมว)
สเตรปโทคอกโคสิส (ม้า หนูตะเภา สุกร สุนัข แมว ปลา ลิง วัว แกะ แพะ เฟอร์เรต และสัตว์ปีก)
ไข้คิว (แกะ แพะ วัว สุนัข แมว กระต่าย ม้า สุกร อูฐ กระบือ สัตว์ฟันแทะ และนกบางชนิด)
กาฬโรค (กระรอก กระจง หนู แมว กระต่าย สัตว์ป่าที่กินเนื้อ แพะ แกะ และอูฐ)
ลายม์ (เห็บ สุนัข ม้า วัว กวางหางขาว หนูไมซ์ สัตว์จำพวกกระรอกเทา และแรคคูน)
เลปโทสไปรา (วัว แกะ แพะ หมู สุกร สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยในทะเล)
ติดเชื้ออีโคไล (วัว แกะ สุกร กวาง สุนัข และสัตว์ปีก)
วัวบ้า (วัว แกะ แพะ สุกร มิ้งค์ หนู ลิงมาโมเซท และลิงบางชนิด)
อาการเมื่อติดเชื้อโรคจากสัตว์
ส่วนใหญ่แล้วเมื่อมีอาการติดเชื้อโรคต่างๆ จากสัตว์ จะมีอาการดังนี้
มีไข้
ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
ปอดอักเสบ
ไต/ตับ อักเสบ
เป็นต้น
อันตรายจากโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน
แต่ละโรคอาจมีอาการของโรคต่างกัน แต่อันตรายที่เกิดขึ้นกับผู้ที่ติดเชื้อโรคจากสัตว์ หรือติดจากผู้ป่วยที่ติดเชื้อจากสัตว์อีกต่อหนึ่ง คือ ความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเป็นเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือเชื้ออื่นๆ ที่ต้องการการรักษาอย่างทันท่วงที ก่อนที่จะลามไปติดเชื้อในอวัยวะส่วนอื่นๆ จนให้การรักษาไม่ทัน
การวินิจฉัยโรคจากสัตว์สู่คน
เมื่อกลุ่มของโรคจากสัตว์สู่คนค่อนข้างกว้าง แบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่มตามเชื้อโรค หรือเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดอาการ ดังนั้นการวินิจฉัยโรคจึงจำเป็นต้องมีการซักประวัติเพื่อให้ได้ช่วงการสัมผัสกับสัตว์ที่แน่นอน ว่าที่ผ่านมาเข้าใกล้กับสัตว์ตัวไหน สัมผัส หรือโดนสัตว์ชนิดใดกัดมาบ้างหรือไม่ รวมถึงไปสัมผัส หรือใกล้ชิดกับคนที่มีอาการเจ็บป่วยหรือไม่ เพื่อดำเนินการตรวจเลือ�� หรือสารคัดหลั่งเพื่อหาสาเหตุของโรคได้ต่อไป
ปัจจุบัน โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน อยู่ในการควบคุมของภาครัฐอย่างใกล้ชิด และยังไม่มีรายงานการติดต่อของโรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คนอย่างรุนแรงชนิดที่ควบคุมสถานการณ์ไม่ได้มาก่อน หากมีข้อสงสัย หรืออยากติดต่อสอบถามเกี่ยวกับการระบาดของโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน สามารถติดต่อได้โดยตรงที่ศูนย์วิทยาศาสตร์โรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
0 notes
Text
"หมัดแมว" กัดคน อันตรายถึงชีวิตหรือไม่?
“หมัดแมว” เริ่มเป็นที่สนใจในหมู่คนเลี้ยวสัตว์ เนื่องจากมีข่าวว่านักเรียนหญิง ม.5 ถูกหมัดแมวกัด ติดเชื้อในกระแสเลือดเสียชีวิต จริงๆ แล้วหมัดแมวอันตรายจนทำให้คนเลี้ยงสัตว์ต้องระมัดระวังตัวเป็นพิเศษหรือไม่?
หมัดแมว กัด��นุษย์ อันตรายถึงชีวิต?
สพ.ญ.รัตนพร ตั้งวังวิวัฒน์ นายสัตวแพทย์ กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค (คร.) กล่าวว่า โดยปกติแล้วยังไม่มีรายงานว่า หมัดกัดแล้วทำให้เสียชีวิต ส่วนตามข่าวที่ว่าติดเชื้อในกระแสเลือด ก็ยังไม่แน่ใจว่า เกิดจากหมัดแมวจริงหรือไม่ ต้องสอบสวนโรคและวินิจฉัยเพิ่มเติม แต่ยืนยันว่าการถูกหมัดกัดไม่ทำให้เสียชีวิต
อันตรายจากหมัดแมว
อย่างไรก็ตาม คนที่ถูกกัดส่วนใหญ่จะมีอาการคัน เกิดตุ่มแดงบริเวณที่ถูกกัด โดยอาจเกิดขึ้นทันที หรือ 2-4 วันหลังจากถูกกัด บางรายอาจเกิดอาการแพ้บริเวณผิวหนัง จากการสัมผัสน้ำลายหมัดหรือขี้หมัด โดยเฉพาะบริเวณข้อมือ ข้อเท้า ที่สัมผัสกับสัตว์ โดยอาการแพ้อาจเกิดขึ้นภายใน 2-4 ชั่วโมงหลังถูกกัดหรือใช้เวลาเป็นวัน แต่ยังไม่พบรายงานการแพ้อย่างรุนแรง ที่ทำให้ช็อกหรือเสียชีวิตเลย
เห็บ หมัด อันตรายทั้งต่อสัตว์ และคน
เห็บและหมัดถือเป็นพาหะนำเชื้อโรคไปสู่สัตว์ตัวอื่นและนำมาติดต่อสู่คนได้ ผ่านทางน้ำลายหมัด เช่น เชื้อโรคไข้รากสาดใหญ่ที่ติดมาจากหนู ทำให้ปวดศีรษะ มีไข้ คลื่นไส้ หรือโรคพยาธิตัวตืด เป็นต้น
ข้อแตกต่างระหว่างเห็บ และหมัด
หมัดและเห็บจะต่างกัน คือ หมัดจะเคลื่อนไหวเร็ว ตัวแบน ส่วนเห็บจะเคลื่อนไหวช้ากว่า มีตัวผู้ตัวเมีย ส่วนใหญ่ที่เห็นดูดเลือดจนตัวใหญ่จะเป็นตัวเมีย
การป้องกันอันตรายจากเห็บ และหมัด
เพราะหมัดไม่ได้อยู่แค่ในแมว แต่อยู่ได้ทั้งในสุนัข สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ฟันแทะ และสัตว์มีกีบ หรือแม้แต่การติดเชื้อในสัตว์เอง เช่น พยาธิเม็ดเลือดที่ทำให้สุนัขตาย เป็นต้น ดังนั้น สิ่งสำคัญ คือ การป้องกันไม่ให้สัตว์เลี้ยงไปสัมผัสกับหมัด เพราะหากมีหมัดแล้วก็จะวนเวียนอยู่ในบ้าน และเกิดขึ้นเรื่อยๆ ต้องรีบกำจัดหมัดทั้งในตัวสัตว์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำได้โดย
อาบน้ำให้สัตว์เลี้ยง และใช้ยาป้องกันเห็บหมัด ซึ่งปัจจุบันมีหลากหลายยี่ห้อ โดยออกฤทธิ์อยู่ได้นาน 30-40 วัน โดยสามารถให้สัตว์แพทย์หยอดให้หรือซื้อยาหยอดที่ได้มาตรฐานมาหยอดทุกเดือน ที่สำคัญอย่าเห็นแก่ของราคาถูกและไม่ได้มาตรฐาน เพราะอาจทำให้สัตว์พิการหรือตายอย่างที่เคยเป็นข่าวได้
วงจรชีวิตของหมัดมี 4 ระยะ คือ ตัวไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย ตัวที่กัดเราคือโตเต็มวัย สามารถอยู่ในบ้านในสิ่งแวดล้อมได้นาน ส่วนใหญ่ถ้าบ้านรกๆ หมัดจะชอบขึ้นไปสะสมตามมุมบ้าน จึงต้องทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมในบ้านด้วย
คอยสำรวจสัตว์เลี้ยงไม่ให้มีหมัด อย่างเจ้าของบางคนไม่รู้ว่าสัตว์ตัวเองมีหมัด โดยเฉพาะตัวขนยาว อย่างแมวเปอร์เซีย ต้องทำการเปิดขนใต้ท้อง ซึ่งอาจเ��็นเป็นขีดเล็ก บางคนคิดว่าอาจเลอะอะไร แต่จริงๆ แล้วคือหมัด
หากจับหมัดทิ้งข้างๆ หมัดก็มีโอกาสกระโดดกลับเข้ามาอีก จึงต้องทิ้งในน้ำผสมสบู่หรือยาเพื่อให้ตาย
ทั้งนี้ ย้ำว่าเราอยู่กับสัตว์เลี้ยงได้ แต่ต้องป้องกันไม่ให้มีหมัด และต้องระวังการแพ้ในทารก หรือคนที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ
สำหรับยากำจัดหมัดนั้นหากเป็นแบบฉีดพ่นจะต้องรอให้หมัดมาติดและกัดสัตว์เลี้ยงก่อน ไม่ได้มีผลในการป้องกัน ส่วนยาหยอดจะช่วยป้องกันหมัดได้ โดยจะหยอดที่หลังคอ โดยยาจะไปที่ต่อมไขมันใต้ผิวหนังและออกฤทธิ์ช่วยฆ่าและป้องกันหมัด
0 notes
Text
โรคผิวหนังในสัตว์เลี้ยง ปัญหาหนักอกที่มาพร้อมหน้าฝน รพส.ทองหล่อ แนะเคล็ดลับดีๆ ป้องกันสัตว์เลี้ยงแสนรักห่างไกลโรคผิวหนัง
📌 โรคผิวหนังในสัตว์เลี้ยง ปัญหาหนักอกที่มาพร้อมหน้าฝน รพส.ทองหล่อ แนะเคล็ดลับดีๆ ป้องกันสัตว์เลี้ยงแสนรักห่างไกลโรคผิวหนัง
เมื่อหน้าฝนมาเยือน นอกจากนำเอาความเย็นชุ่มฉ่ำมาฝากกันแล้ว ยังนำพาเอาสารพัดโรคมาฝากสัตว์เลี้ยงของเราด้วย ไม่ว่าจะเป็น โรคที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น หวัด หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ ภาวะการติดเชื้อต่าง ๆ เช่น ท้องเสีย โรคลำไส้อักเสบ โรคฉี่หนู เห็บหมัด โรคพยาธิเม็ดเลือด นอกจากนี้ ยังต้องระวังเกี่ยวกับอุบัติเหตุต่าง ๆ เช่น ตกใจเสียงฝนตกฟ้าร้อง แมลงสัตว์กัดต่อย เป็นต้น
โรคผิวหนังในสัตว์เลี้ยง มักพบบ่อยในช่วงหน้าฝน ซึ่งเรื่องนี้ สพ.ญ.จิตรลดา ตีระลาภสุวรรณ สัตวแพทย์ประจำโรงพยาบาลสัตว์ทองหล่อ จะมาบอกเคล็ดลับ (ที่ไม่ลับ) เกี่ยวกับวิธีการดูแลสัตว์เลี้ยงแสนรักของเราเพื่อไม่ให้เป็นโรคผิวหนังที่อาจก่อปัญหาหนักอกกังวลใจได้
ก่อนจะไปถึงเรื่องวิธีการดูแล อยากให้ทราบถึงสาเหตุของการเกิดโรคผิวหนังกันก่อน แน่นอนว่าถ้าเป็นช่วงฤดูฝน สาเหตุหลักมาจากความชื้น ซึ่งน้องหมาและน้องแมวของเราอาจติดเชื้อ เช่น ยีสต์ เชื้อรา แบคทีเรีย รวมไปถึงปรสิตภายนอกต่าง ๆ เช่น เห็บ หมัด ภาวะภูมิแพ้ผิวหนัง เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักจะมีอาการคัน เน���่องจากในอากาศมีความอับชื้น มีละอองฝุ่นที่น้องสัมผัสหรือสูดดมแล้วกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ รวมไปถึงการใช้ชีวิตประจำวัน ยิ่งหากที่อยู่อาศัยมีฝนสาดถึง หรือ น้อง ๆ มีพฤติกรรมชอบออกไปวิ่งเล่นนอกบ้าน โรคผิวหนังก็สามารถมาเยี่ยมมาเยือนได้ง่าย
ส่วนสายพันธุ์ที่มีโอกาสจะเป็นโรคนี้ได้มากกว่าใครเพื่อน ได้แก่ น้องหมา น้องแมวที่ขนยาว ขนหนา ใบหูปรก หรือ น้อง ๆ ที่มีโรคประจำตัวบางอย่าง เช่น ภาวะภูมิแพ้ เป็นต้น โดยจะสังเกตเห็นพฤติกรรมการเกา เลีย ถูไถ สะบัด มากเป็นพิเศษ สังเกตที่ผิวหนังจะแดง มีสะเก็ด มีตุ่มแดง ตุ่มหนอง ก้อนเนื้อ ขนร่วง มีกลิ่นตัว รวมถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป เจ้าของจะสังเกตได้ชัดในช่วงที่กำลังอาบน้ำให้สัตว์เลี้ยง
สำหรับวิธีการรักษา สัตวแพทย์จะทำการตรวจวินิจฉัย โดยมีทั้งการตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจเฉพาะด้านผิวหนัง เช่น การเก็บตัวอย่างเซลล์ผิวหนัง การเพาะเชื้อ การทดสอบภาวะภูมิแพ้ เมื่อทราบสาเหตุของอาการหรือโรคแล้ว สามารถทำการรักษาทั้งการให้ยาทาน ยาภายนอก การใช้แชมพูยา และการปรับอาหาร
มีเคล็ดลับดี ๆ สำหรับเจ้าของน้องหมาและน้องแมว ควรหมั่นดูแลสุขภาพร่างกายและสุขภาพผิวหนังและขนของน้อง ๆ อย่างสม่ำเสมอ คอยสำรวจตามตัว โดยเฉพาะบริเวณอุ้งเท้า ใต้ท้อง ��าหนีบ หู รอบก้น ที่มักเกิดความอับชื้นได้ง่าย หากน้องมีพฤติกรรมชอบออกไปวิ่งเล่น ก็ต้องหมั่นทำความสะอาด การอาบน้ำอย่างถูกวิธี และเช็ดเป่าขนให้แห้ง รวมไปถึงการดูแลที่นอนของน้องหมาและน้องแมวให้สะอาดถูกสุขลักษณะ เพียงเท่านี้ก็สามารถช่วยให้น้อง ๆ ห่างไกลจากโรคผิวหนังได้แล้ว
นอกจากนี้ สิ่งที่เจ้าของสัตว์เลี้ยงควรทำเป็นประจำ นั่นคือ การป้องกันเห็บหมัดและพยาธิหนอนหัวใจ การอาบน้ำ ตัดเล็บ เช็ดหู บีบต่อมก้น เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค สำหรับเจ้าของสัตว์เลี้ยงที่ต้องการข้อมูลและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ รพส.ทองหล่อ ทุกสาขา โทร.02-079-9999 หรือ www.facebook.com/ThonglorPet และ Line: @jaothonglor
Via: โรคผิวหนังในสัตว์เลี้ยง ปัญหาหนักอกที่มาพร้อมหน้าฝน รพส.ทองหล่อ แนะเคล็ดลับดีๆ ป้องกันสัตว์เลี้ยงแสนรักห่างไกลโรคผิวหนัง >>
0 notes
Text
หมอเตือนระวังถูกเห็บกัดเสี่ยงป่วย "โรคลายม์"
กรมควบคุมโรคระบุว่า "โรคลายม์" ติดต่อโดยการแพร่เชื้อผ่าน "เห็บ" ซึ่งโรคนี้ไม่ใช่โรคใหม่ สามารถพบได้ทั่วโลก แต่ที่ผ่านมาไม่เคยมีรายงานโรคลายม์ในไทย พร้อมเตือนประชาชนระมัดระวังถูกเห็บกัดและหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีเห็บอยู่อาศัย
วันนี้ (17 ก.ค.2562) นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวถึงกรณีที่มีรายงานข่าวหญิงชาวไทยป่วยด้วย "โรคลายม์" หลังกลับจากท่องเที่ยวในประเทศตุรกี ว่า จากการตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นแพทย์วินิจฉัยเป็นโรคลายม์ โดยการตรวจทางห้องปฏิบัติการหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ Borrelia ในเลือด ผู้ป่วยคนดังกล่าวได้รับยาปฏิชีวนะตรงกับโรคนี้ตั้งแต่ต้น อาการจึงค่อยๆ ดีขึ้นช้าๆ ซึ่งโรคนี้ไม่พบในประเทศไทย ส่วนคนไทยที่ไปท่องเที่ยวในต่างประเทศกลับมาก็ไม่มีรายงานว่าเคยป่วยเป็นโรคนี้แต่อย่างใด
"เห็บ" ตัวแพร่เชื้อ "โรคลายม์"
โรคลายม์ หรือโรคไลม์ หรือโรคลัยม์ (Lyme Disease) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียโบเรลเลีย (Borrelia) ติดต่อจากการแพร่เชื้อผ่าน "เห็บ" ซึ่งอาการของโรคจะแตกต่างกันไปและพบได้ทั่วโลก โดยพบสุนัข ม้าและโค สามารถเป็นโรคนี้ได้จากการถูกเห็บที่มีเชื้อกัด รวมถึงสัตว์ป่า โดยเฉพาะสัตว์ฟันแทะขนาดเล็กและกวาง ก็เป็นพาหะของเชื้อตามธรรมชาติได้ ซึ่งเห็บจะได้รับเชื้อจากการดูดเลือดสัตว์ป่าที่มีเชื้อและแพร่ไปยังสัตว์อื่นหรือคนได้เมื่อถูกเห็บกัด
นพ.สุวรรณชัย กล่าวอีกว่า โรคนี้ไม่ใช่โรคใหม่ พบได้ในต่างประเทศ ที่ผ่านมายังไม่เคยมีรายงานโรคลายม์ในประเทศไทย ซึ่งประชาชนสามารถเดินทางไปต่างประเทศได้ตามปกติ แต่ต้องระมัดระวังถูกเห็บกัด เนื่องจากคนติดโรคนี้ได้จากการถูกเห็บที่มีเชื้อกัด ซึ่งเห็บต้องเกาะอยู่อย่างน้อย 24 ชั่วโมงจึงจะสามารถแพร่เชื้อเข้าสู่ร่างกายได้ ขณะที่บางคนอาจไม่แสดงอาการป่วย หรืออาจทำให้เกิดอาการรุนแรงมากได้
0 notes
Text
รู้วิธีรับมือ ติดต่อผ่าน เห็บ จากสัตว์สู่คน หลังพบป่วยรายแรกความจำเสื่อม
http://dlvr.it/R8XgSG
0 notes