#กระทรวงสาธารณสุข
Explore tagged Tumblr posts
Text
จัดเต็มความสนุก ในกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ‘โครงการทูบีนัมเบอร์วัน’
https://www.naewna.com/entertain/841001 จัดเต็มความสนุก ในกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ‘โครงการทูบีนัมเบอร์วัน’ วันพุธ ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. วอร์มเสียงกรี๊ดให้พร้อมและเตรียมมาสนุกสุดมันส์ ในกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด โครงการทูบีนัมเบอร์วัน โดยมี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นประธานโครงการ จัดโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พบกับ อังเปา-โอชิริส…
View On WordPress
0 notes
Text
งานวิจัยชี้ว่า คนไทยกว่า 49 % ยินดีจ่ายเงินเพิ่มขึ้น เพื่อเลือกซื้ออาหารที่ดีต่อสุขภาพใส่บาตรถวายพระสงฆ์
.
ข้อมูลของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคที่พระสงฆ์และสามเณรอาพาธมาเข้ารับการรักษามากที่สุดคือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน รวมทั้งไตวายเรื้อรังและข้อเข่าเสื่อม
.
หนึ่งในปัจจัยหลักที่ทำให้พระสงฆ์เกิดความเจ็บป่วยนั้น ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการได้รับอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ เป็นอาหารที่มีรสหวานจัด เค็มจัด และมีไขมันมากเกินไป ซึ่งเสี่ยงต่อการก่อโรค NCDs
.
ข้อมูลที่น่าสนใจพบว่า ปัจจุบันคนส่วนใหญ่นิยมเลือกซื้อหาอาหารใส่บาตรตามที่ตนสะดวก ด้วยไม่มีเวลาประกอบอาหารใส่บาตรด้วยตนเอง ร้านค้าที่ขายอาหารใส่บาตรจึงเป็นตัวเลือกที่สำคัญในการทำบุญใส่บาตร โดยจะพบเห็นได้ตามตลาดทั่วไป ที่มีพ่อค้าแม่ค้าตั้งร้านขายกับข้าวชุดใส่บาตร ราคาเริ่มตั้งแต่ 50 - 100 บาท
.
รายการอาหารที่พบได้จากกับข้าวชุดใส่บาตรส่วนใหญ่คือ ไข่พะโล้ แกงกะทิ ผัดผักมีน้ำมันเยิ้ม ต้มจืดที่มีปริมาณโปรตีนจากเนื้อสัตว์น้อยมาก และขนมหวานที่มีชื่อมงคล ส่วนใหญ่เป็นรายการอาหารซ้ำ ๆ กัน ทำให้ตัวเลือกในการเลือกซื้ออาหารที่เอื้อต่อสุขภาพพระสงฆ์มีข้อจำกัด พระสงฆ์จึงต้องพิจารณาการขบฉันจากอาหารที่ฆราวาสนำมาถวาย จึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า คุณค่าด้านโภชนาการที่พระสงฆ์ได้รับจากอาหารที่ได้รับถวายนั้นเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของพระสงฆ์ไม่มากก็น้อย ดังนั้น ทั้งผู้บริโภคและผู้ประกอบการในตลาดอาหารสำหรับการทำบุญใส่บาตรจึงเป็นภาคส่วนสำคัญในการเกื้อหนุนสุขภาพพระสงฆ์
.
Brand Inside มีโอกาสได้พูดคุยกับ รองศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน อาจารย์ประจำคณะนิเทศศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวหน้าโครงการสงฆ์ไทยไกลโรค ซึ่งได้ให้ข้อมูลว่า สภาพสังคมที่พัฒนาสู่ความเป็นเมือง ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตที่เร่งรีบ มีข้อจํากัดในการเลือกหาอาหารมาถวายใส่บาตร
.
จากข้อมูลการศึกษาวิจัยของโครงการสงฆ์ไทยไกลโรคพบว่า ประชาชนผู้บริโภคต้องเลือกอาหารใส่บาตรตามความสะดวกจากตัวเลือกอาหารเท่าที่มีให้เลือกซื้อหาในตลาด โดยพบข้อมูลที่น่ายินดีว่า ผู้ทําบุญใส่บาตรส่วนใหญ่พยายามเลือกซื้อหาอาหารด้วยการคํานึงถึงคุณค่าทางโภชนาการจากรายการอาหารตามที่ร้านค้ามีให้เลือก ผลการศึกษาวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคของโครงการสงฆ์ไทยไกลโรคยังชี้ว่า ผู้บริโภคยินดีจะจ่ายเงินหากราคานั้นเหมาะสมกับคุณภาพของอาหารที่นำมาใส่บาตรเพื่อสุขภาพของพระสงฆ์
.
ทั้งนี้ ผลการศึกษาของโครงการสงฆ์ไทยไกลโรคยังพบด้วยว่า ค่านิยมและความเชื่อที่ว่า “พระสงฆ์เป็นสะพานบุญ ”หรือ“ไปรษณีย์บุญ” นําพาอาหารที่ได้รับ จากญาติโยมส่งไปยังผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ยังคงเป็นความเชื่อที่ฝังรากลึกในสังคมไทย โดยประชาชนชาวไทยมีความเชื่อว่าอาหารที่ถวายแด่พระสงฆ์จะตกไปถึงบรรพบุรุษและญาติผู้ล่วงลับไปแล้วและมักเลือกถวาย อาหารตามความชอบของบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ
.
ดร. ฐิตินัน บอกว่า จากผลสำรวจข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับผู้บริโภค (Customer Insight) และพฤติกรรมผู้บริโภค (Customer Behaviour) ในงานวิจัย “ค่านิยมและพฤติกรรม��ารใส่บาตรของประชาชนชาวไทย” โดย โครงการสงฆ์ไทยไกลโรค พบว่า 54.07% ของประชาชนเลือกซื้ออาหารสําเร็จจาก ร้านที่ตนเองรับประทานเป็นประจํามาใส่บาตร และ 29.69% เลือกซื้ออาหารชุดตักบาตรตามจุดที่มีบริการ
.
ด้านปัจจัยหรือเหตุผลในการเลือกอาหารที่นํามาถวายใส่บาตรพบว่า 49.07% เลือกตามสะดวกหรือตามแต่ที่มีให้เลือก โดย 40.92% เลือกจากคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร และ 38.53% เลือกอาหารที่บรรพบุรุษหรือผู้ที่ล่วงลับไปแล้วชอบ
.
เมื่อพิจารณาผลสำรวจเกี่ยวกับความเชื่อของประชาชนที่ว่าพระสงฆ์เป็นสะพานบุญหรือไปรษณีย์บุญ นำพาอาหารที่ได้รับไปยังผู้ล่วงลับไปแล้วนั้น พบว่ามีสัดส่วนเกือบครึ่งหนึ่ง คือ 47.14% ประชาชนส่วนใหญ่จึงมักเลือกถวายอาหารตามความชอบของบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ
.
โครงการสงฆ์ไทยไกลโรค มีจุดมุ่งหมายในการสื่อสารรณรงค์ให้สังคมเกิดความเข้าใจในการดูแล สุขภาพของพระสงฆ์ โดยต้องการสร้างความตระหนักว่า การทําบุญใส่บาตรของฆราวาสการเป็นสิ่งที่มีความ เชื่อมโยงกับสุขภาพของพระสงฆ์ เพราะตามหลักพระธรรมวินัยแล้วนั้น พระสงฆ์ไม่สามารถเรียกร้องหรือปฏิเสธ อาหารที่ญาติโยมนํามาถวายได้ ด้วยพระสงฆ์ต้องพึ่งพาอาหารที่ฆราวาสญาติโยมนํามาถวายใส่บาตร ดังนั้นสุขภาพ ของพระสงฆ์จึงเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับทั้งตัวของพระสงฆ์ท่านเองและฆราวาส
.
ทั้งนี้ ความเชื่อและความศรัทธาในการทำบุญใส่บาตรนับเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้พุทธศาสนิกชนที่มีจิตศรัทธาได้ถวายอาหารใส่บาตร สงฆ์ไทยไกลโรคจึงเชิญชวนประชาชนชาวไทย ร่วมใส่ใจใส่บาตร ถวายอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพของพระสงฆ์ เพื่อเกิดเป็นบุญคุณภาพที่เกื้อหนุนต่อทั้งความเชื่อความศรัทธาและสุขภาพของพระสงฆ์และสามเณร
.
#Brandinside#ธุรกิจคิดใหม่#สงฆ์ไทยไกลโรค#อาหาร
0 notes
Text
โรคพิษสุนัขบ้า
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) เป็นโรคที่ยังไม่มียารักษาในปัจจุบัน โดยผู้ที่ได้รับเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าและไม่ได้รับการป้องกันและรักษาอย่างทันท่วงที มักเสียชีวิตเกือบทุกราย ดังนั้นหากมีการสัมผัสกับสัตว์ที่ต้อง
โรคพิษสุนัขบ้า คืออะไร?
โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) หรือโรคกลัวน้ำ (Hydrophobia) คือ โรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่มีอันตรายร้ายแรง โดยผู้ป่วยที่สัมผัสกับสัตว์ติดเชื้อ จะได้รับเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าในตระกูล Rhabdoviridae ผ่านทางน้ำลายของสัตว์ที่กัด ทำให้เกิดอาการทางระบบประสาท เช่น ชัก ประสาทหลอน อัมพาต โดยโรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคร้ายแรงถึงชีวิต เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มียารักษาโรค อย่างไรก็ตามโรคนี้สามารถป้องกันได้ โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
สาเหตุของโรคพิษสุนัขบ้า เกิดจากอะไร?
สาเหตุของโรคพิษสุนัขบ้า เกิดจากการสัมผัสกับน้ำลายของสัตว์ที่เป็นพาหะของโรค ผ่านการถูกสัตว์กัด ข่วน หรือน้ำลายกระเด็นเข้าบาดแผลหรือบริเวณผิวหนังที่เป็นรอยถลอก ถูกสัตว์เลียบริเวณเยื่อบุตา จมูก หรือปาก หรือรับประทานเนื้อสัตว์ดิบๆที่มีเชื้อ นอกจากนี้การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ transplantation) ก็อาจเป็นสาเหตุให้ได้รับเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าได้เช่นกัน
สัตว์ที่อาจเป็นพาหะของโรคพิษสุนัขบ้า
สัตว์ที่อาจเป็นพาหะของโรคพิษสุนัขบ้าได้แก่ สัตว์จำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว ค้างคาว สุนัขจิ้งจอก แรคคูน และสัตว์ป่าหลาย ๆ ชนิด โดยสุนัขจรจัดมีแนวโน้มที่จะเป็นพาหะแพร่เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าสู่คนได้มากที่สุด
อาการของโรคพิษสุนัขบ้าจะยังไม่แสดงออกในทันทีหลังจากที่ได้รับเชื้อ โดยผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการประมาณ 3 สัปดาห์ ไปจนถึง 3 เดือนหลังได้รับเชื้อ ในบางรายอาจใช้เวลาร่วมปีกว่าที่เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าจะแสดงอาการ
อาการของโรคพิษสุนัขบ้าเป็นอย่างไร?
อาการของโรคพิษสุนัขบ้าจะยังไม่แสดงออกในทันทีหลังจากที่ได้รับเชื้อ โดยผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการประมาณ 3 สัปดาห์ ไปจนถึง 3 เดือนหลังได้รับเชื้อ ในบางรายอาจใช้เวลาร่วมปีกว่าที่เชื้อโรคพิษสุนัขบ้าจะแสดงอาการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาด จำนวน และตำแหน่งของบาดแผล โดยเฉพาะตำแหน่งที่มีเส้นประสาทมาเลี้ยงจำนวนมาก (Richly innervated area) โดยเชื้อโรคจะแพร่กระจายจากบาดแผลเข้าสู่ระบบประสาทและสมอง อาการของโรคพิษสุนัขบ้าแบ่งเป็น 3 ระยะดังนี้
ระยะแรกเริ่ม (Prodromal phase) ผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้าในระยะแรกเริ่ม จะมีอาการไม่จำเพาะ ได้แก่ มีไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดเมื่อยตามตัว กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ระคายเคืองบริเวณที่ถูกสัตว์กัดเป็นอย่างมาก มีอาการเจ็บแปลบคล้ายหนามทิ่มตำ โดยระยะนี้ อาจกินระยะเวลาเฉลี่ย 2-10 วัน
ระยะที่มีอาการทางระบบประสาท (Acute neurologic phase) ผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้าในระยะนี้ จะมีอาการแบ่งได้ 2 ประเภท
ภาวะสมองอักเสบ (Encephalitis)ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ กลัวลม กลัวน้ำ กล้ามเนื้อกระตุก กล้ามเนื้อหดเกร็ง เพ้อ เห็นภาพหลอน นอนไม่หลับ
ภาวะอัมพาตแบบกล้ามเนื้ออ่อนแรงปวกเปียก (Flaccid paralysis) ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้อหดตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระยะโคม่า หรือ ระยะสุดท้าย (Coma) ผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้าในระยะนี้ จะพบภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ระบบหายใจล้มเหลว หัวใจหยุดเต้น และมักเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์
หากถูกสุนัขกัด หรือ สัตว์กัด ควรทำอย่างไร?
หากถูกสัตว์ที่มีเชื้อโรคพิษสุนัขบ้ากัด หรือข่วนส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ควรปฎิบัติตน ดังนี้
ล้างบาดแผลทุกแผลด้วยน้ำ และฟอกสบู่หลาย ๆ ครั้ง ให้สะอาดลึกถึงก้นแผลอย่างน้อย 15 นาที เช็ดแผลให้แห้ง และใส่ยาฆ่าเชื้อ เช่น กลุ่มยาโพวิโดนไอโอดีน (Povidone-iodine)
หากสัตว์ที่กัดมีเจ้าของ ให้สอบถามประวัติการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และคอยสังเกตอาการของสัตว์ที่กัดอย่างน้อย 10 วัน เพื่อให้แน่ใจว่าสัตว์ไม่มีอาการของโรคพิษสุนัขบ้า
รีบพบแพทย์ให้เร็วเพื่อรับการป้องกัน และรักษาที่ถูกต้อง โดยแพทย์พิจารณาทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า กลุ่มยา Post-exposure prophylaxis/PEP รวมถึงวัคซีนป้องกันบาดทะยัก และยาปฎิชีวนะ โดยหากสัตว์ที่กัดมีโอกาสสูงที่จะเป็นโรคพิษสุนัขบ้า แพทย์อาจพิจารณาให้ยาอิมมูโนโกลบุลิน (Immunoglobulins) ซึ่งเป็นยาที่ออกฤท��ิ์ต้านเชื้อพิษสุนัขบ้าร่วมด้วย
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ต้องฉีดกี่เข็ม?
กระทรวงสาธารณสุข และ สภากาชาดไทยแนะนำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่จำนวน 1-5 เข็ม ขึ้นอยู่กับว่าเคยฉีดวัคซีนมาก่อนหรือไม่ โดยมีวิธีการฉีด 2 แบบ ดังนี้
การฉีดวัคซีนใต้ผิวหนัง (Intradermal: ID)
การฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular: IM)
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจัดว่าเป็นวัคซีนที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง สามารถฉีดได้ทุกเพศ ทุกวัย รวมทั้งเด็ก และสตรีมีครรภ์ หากผู้ที่ถูกสัตว์กัดได้รับวัคซีนเข็มแรกหลังจากที่ถูกสัตว์กัดโดยเร็ว และมาฉีดวัคซีนจนครบจำนวนตามเข็มที่แพทย์สั่ง ก็จะสามารถป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้
เราจะป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างไร?
โรคพิษสุนัขบ้าสามารถป้องกันได้ โดยการดูแลสุขภาพอนามัยของสัตว์เลี้ยงให้ปลอดภัย และให้อยู่ห่างจากสัตว์ป่า เพื่อลดความเสี่ยง ในการสัมผัสกับสัตว์ติดเชื้อ รวมทั้งปฏิบัติตามข้อปฎิบัติต่าง ๆ ดังนี้
นำสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข และแมว เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องการโรคพิษสุนัขบ้าจนครบตามจำนวนเข็มที่สัตวแพทย์กำหนดและฉีดซ้ำทุกปี
จัดที่อยู่อาศัยที่เป็นกิจลักษณะให้สัตว์เลี้ยง ให้สัตว์เลี้ยงอยู่ในกรง หรือในบ้านเวลากลางคืน ไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงไปในที่สาธารณะ
ไม่สัมผัสสัตว์ป่า หรือปล่อยให้สัตว์เลี้ยงสัมผัสกับสัตว์ป่าหรือสัตว์จรจัด เพื่อหลีกเลี่ยงโอกาสที่สัตว์เลี้ยงจะถูกกัด
หากพบสัตว์จรจัด ที่ต้องสงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานท้องถิ่นที่รับผิดชอบทันที
แนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแบบป้องกันล่วงหน้าในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น สัตวแพทย์ ผู้ที่ทำงานในสวนสัตว์ ผู้ที่ทำงานในห้องทดลองที่มีความเสี่ยงสัมผัสกับไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า ผู้ที่ต้องเดินทางไปพื้นที่ห่างไกลที่มีการระบาดของโรคและผู้ที่ชื่นชอบการตั้งแคมป์ เดินป่า ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่ยังไม่มียารักษาในปัจจุบัน ผู้ที่ได้รับเชื้อโดยที่ไม่ได้รับการป้องกันและรักษาอย่างทันท่วงทีมักเสียชีวิตเกือบทุกราย ดังนั้นหากมีการสัมผัสกับสัตว์ที่ต้องสงสัยว่าอาจเป็นโรคพิษสุนัขบ้า แนะนำใ���้รีบมาพบแพทย์ เพื่อพิจารณาฉีดวัคซีนและหรือยาป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยเร็วที่สุด
#โรคพิษสุนัขบ้า #Rabies #โรคกลัวน้ำ #Hydrophobia
ที่มา :: https://www.medparkhospital.com/disease-and-treatment/rabies
1 note
·
View note
Text
วิตามินซี กินอย่างไรให้ “พอดี”
เป็นที่ทราบกันดีค่ะว่า ว่าวิตามินซีพบในผักและผลไม้ ผักและผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เช่น ฝรั่ง มะขามป้อม พริกหวาน ผักคะน้า ซึ่งตารางด้านล่างนี้ คือตัวอย่างของวิตามินซีที่พบใน ผัก ผลไม้ 100 กรัม
กินวิตามินซีอย่างไร จึงจะเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน? องค์การอนามัยโลก ได้แนะนำว่า หากเรากินผักผลไม้ให้ได้ 400 กรัมต่อวัน จะเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ซึ่งการกินผักผลไม้ 400 กรัมนั้น ร่างกายจะได้รับวิตามินซีประมาณ 210-280 มิลลิกรัม ถือว่าเพียง��อต่อความต้องการวิตามินซีของร่างกายต่อวัน นอกจากจะได้รับวิตามินซี ผักผลไม้ ยังเป็นแหล่งสำคัญของใยอาหาร แร่ธาตุ วิตามินชนิดอื่นๆ และ สารพฤกษเคมีต่างๆ ที่เป็นประโยชน์กับร่างกายอีกด้วย
เราจำเป็นต้องกินวิตามินซีในรูปแบบผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรือไม่? ตามที่ได้กล่าวไปแล้วว่า วิตามินซีมีประโยชน์หลายด้าน เช่น การเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย การต้านอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็ง แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาวิจัยที่แนะนำปริมาณที่เหมาะสม ซึ่งหากต้องการกินวิตามินซีที่มากกว่าปริมาณที่แนะนำ สามารถเลือกกินได้ แต่ปริมาณสูงสุดต้องไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน และนอกจากนี้ เมื่อเรากินวิตามินซีเข้าไปในปริมาณที่มากขึ้น ร่างกายจะมีร้อยละของการดูดซึมที่ลดลง หากกินวิตามินซีปริมาณ 30-180 มิลลิกรัมต่อวัน ร่างกายดูดซึมได้ร้อยละ 80-90 แต่ถ้ากินวิตามินซีในปริมาณ 500 มิลลิกรัม ร่างกายดูดซึม ได้ร้อยละ 75 และหากกินในปริมาณที่มากกว่า 500 มิลลิกรัม ร่างกายจะดูดซึมได้น้อยลงเรื่อยๆ ตามที่ได้กล่าวไปแล้วว่า วิตามินซีมีประโยชน์หลายด้าน เช่น การเสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย การต้านอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็ง แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาวิจัยที่แนะนำปริมาณที่เหมาะสม ซึ่งหากต้องการกินวิตามินซีที่มากกว่าปริมาณที่แนะนำ สามารถเลือกกินได้ แต่ปริมาณสูงสุดต้องไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน และนอกจากนี้ เมื่อเรากินวิตามินซีเข้าไปในปริมาณที่มากขึ้น ร่างกายจะมีร้อยละของการดูดซึมที่ลดลง หากกินวิตามินซีปริมาณ 30-180 มิลลิกรัมต่อวัน ร่างกายดูดซึมได้ร้อยละ 80-90 แต่ถ้ากินวิตามินซีในปริมาณ 500 มิลลิกรัม ร่างกายดูดซึม ได้ร้อยละ 75 และหากกินในปริมาณที่มากกว่า 500 มิลลิกรัม ร่างกายจะดูดซึมได้น้อยลงเรื่อยๆ
จะเห็นได้ว่าหากเราต้องการวิตามินซีที่เพียงพอกับปริมาณที่แนะนำในแต่ละวัน การกินผักผลไม้ 400 กรัม ช่วยให้เราได้รับวิตามินซีที่เพียงพอ หากต้องการให้เห็นผลโดยการกินวิตามินซีในปริมาณมากก็ควรทราบไว้ว่า ยิ่งปริมาณวิตามินซีมากขึ้น ร้อยละการดูดซึมจะลดลง และควรกินวิตามินซีไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน เพื่อไม่ให้เกิดผลข้างเคียงที่อาจก่อให้เกิดอันตรายกับร่างกายได้
ที่มา: สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แทงหวยยี่กี่ แทงง่ายๆ ได้จริงๆ เพียงล็อกอินเข้าระบบผ่านหน้าเว็บไซต์ https://ssslotto.com เล่นหวยออนไลน์
0 notes
Text
สำเร็จการศึกษารายวิชา
การเรียนรู้ออนไลน์ด้านเอชไอวี/เอดส์
สำหรับเจ้าหน้าที่ภาคสนามและแกนนำ
เพื่อเข้าถึงกลุ่ม MSM/TG
กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
ว่าที่ร้อยเอกอรุณวัชร์ กร่ำธาดา
1 note
·
View note
Text
สมุนไพรแก้โรคมะเร็งในกระดูก ยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการรองรับ
แพทย์ชี้ "สมุนไพรแก้โรคมะเร็งในกระดูก" ข่าวปลอม! ไม่มีหลักฐานทางวิชาการรองรับ
แพทย์ชี้ “สมุนไพรแก้โรคมะเร็งในกระดูก” ข่าวปลอม! ไม่มีหลักฐานทางวิชาการรองรับ ตามที่มีข่าวปรากฏตามสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็น “สมุนไพรแก้โรคมะเร็งในกระดูก” นั้น นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่า สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ ได้ตรวจสอบข้อมูลวิชาการพบข้อเท็จจริง คือ ยังไม่มีหลักฐานงานวิจัยทางคลินิกที่ยืนยันแน่ชัดว่าสมุนไพรที่กล่าวอ้างสามารถรักษามะเร็งในกระดูกได้
“ตามที่มีการเผยแพร่การดื่มน้ำสมุนไพรช่วยรักษามะเร็งในกระดูก แก้ปวดในกระดูก ได้แก่ ต้นหนอนตายหยาก เปลือกต้นกุ่ม หัวยาข้าวเย็นเหนือ หัวยาข้าวเย็นใต้ ดินประสิว สารส้ม กำมะถัน จากการตรวจสอบข้อมูลวิชาการ พบว่า ต้นหนอนตายหยาก เปลือกต้นกุ่ม หัวยาข้าวเย็นเหนือ หัวยาข้าวเย็นใต้ เป็นสมุนไพรที่มีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิดเป็นองค์ประกอบ เช่น สารไตรเทอร์ปีนอยด์ สารฟีนอลิกส์ สารฟลาโวนอยด์ และสารต้านอนุมูลอิสระอื่นๆ ซึ่งอาจมีส่วนช่วยขัดขวาง และหยุดการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติและช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย” นพ.สมศักดิ์ กล่าวและว่า อย่างไรก็ตาม สูตรสมุนไพรนี้ไม่สามารถนำมารักษามะเร็งในกระดูกได้ เนื่องจากยังไม่มีการวิจัยทางคลินิกที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์รองรับ
ด้าน นพ.จินดา โรจนเมธินทร์ ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กล่าวว่า สมุนไพรมีทั้งคุณประโยชน์และมีโทษมหันต์หากรับประทานในปริมาณที่ไม่เหมาะสม ดังนั้น ควรศึกษารายละเอียดคุณสมบัติต่างๆ ของสมุนไพร รวมทั้งศึกษาวิธีการนำมาใช้ในประมาณที่เหมาะสมและถูกวิธี หมั่นสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการใช้สมุนไพร และที่สำคัญการรับประทานเพื่อหวังผลในด้านการรักษาโรค ควรปรึกษาและขอคำแนะนำจากแพทย์...ลุ้นหวย
1 note
·
View note
Text
ออมสิน-กระทรวงสาธารณสุข Kick Off แผนงานความมั่นคงปลอดภัยทางการเงิน Money Safety MOPH+ – Government Savings Bank https://sck.pm/9g4 @GSBSociety #GSBSociety
อธส. รับรางวัลเกียรติยศแห่งปี Banker of the Year 3 ปีซ้อน – Government Savings Bank https://sck.pm/VUg @GSBSociety #GSBSociety
ออมสินร่วมกิจกรรมการแข่งขันวิ่งการกุศลต่อต้านการทุจริต – Government Savings Bank https://sck.pm/zup @GSBSociety #GSBSociety
ออมสินแจกจริงมอบรางวัลพิเศษสลากฯ 2 ปี 50 ล้านบาทให้กับลูกค้าสาขาคลองโพ – Government Savings Bank https://sck.pm/C6m @GSBSociety #GSBSociety
ธกส : โครงการ New Gen Hug บ้านเกิด Season 2 – Government Savings Bank https://sck.pm/ANH @GSBSociety #GSBSociety
ออมสิน ขานรับนโยบายรัฐบาล เดินหน้าวาระแห่งชาติ “การแก้ไขหนี้นอกระบบ” ให้กู้ 50,000 บาทต่อราย ดอกเบี้ย 0.75% ต่อเดือน ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป – Government Savings Bank https://sck.pm/i77 @GSBSociety #GSBSociety
0 notes
Text
โรคไข้เลือดออกไครเมียนคองโก ในไทยยังไม่พบผู้ป่วย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์โรคไข้เลือดออกไครเมียนคองโก อย่างใกล้ชิด ซึ่ง WHO กำหนดให้เป็นโรคติดต่ออันตราย พร้อมชี้ให้เห็นถึงข้อแตกต่างระหว่าง “โรคไข้เลือดออกไครเมียนคองโก” (Crimean-Congo haemorrhagic fever – CCHF) และ “โรคไข้เลือดออก” ซึ่งโรคไข้เลือดออกไครเมียนคองโก ยังไม่มีรายงานพบผู้ป่วยในประเทศไทย อธิบดีกรมควบคุมโรค…
View On WordPress
0 notes
Text
ปลอดภัย ไร้สารเคมี คุ้มค่าเกินราคา!
จบทุกปัญหากลิ่นเหม็นในฟาร์ม ด้วย หัวเชื้อจุลินทรีย์ "ไมโคร-เบลส" ผสานเทคโนโลยีขั้นสูง ลดแมลงวัน ดับกลิ่น ปลอดภัย ไร้สารเคมี คุ้มค่าเกินราคา!
แมลงวัน เป็นหนึ่งในปัญหากวนใจที่หลายสถานที่ต้องเจอ โดยเฉพาะฟาร์มสัตว์เลี้ยงที่อาจส่งผลเสียระยะยาวทั้งตัวสัตว์และเจ้าของฟาร์ม ไม่ว่าจะเป็น สุขภาพของสัตว์เลี้ยงในฟาร์มแย่ลง เช่น ไก่ วัว ควาย เกิดโรคระบาดภายในฟาร์มส่งผลให้สัตว์เลี้ยงล้มตาย และอาจเกิดระบาดจากสัตว์สู่คน ส่งผลให้สร้างความเสียหายทั้งร่างกายและจิตใจให้กับเจ้าของฟาร์ม
สำหรับเจ้าของฟาร์มสัตว์เลี้ยงหรือผู้ที่กำลังเผชิญปัญหากลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ และต้องการบอกลากลิ่นไม่พึงประสงค์อย่างเร่งด่วน ขอแนะนำจุลินทรีย์ดับกลิ่นสูตรเข้มข้นจาก "ไมโคร-เบลส" ตัวช่วยจัดการปัญหากลิ่นเหม็นภายในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ได้แบบอยู่หมัด ท้าพิสูจน์ประสิทธิภาพ โดยสามารถดับกลิ่นได้ภายใน 24 ชั่วโมง!
"ไมโคร-เบลส" ผลิตภัณฑ์หัวเชื้อจุลินทรีย์ ขั้นเทพ ด้วยนวัตกรรมที่ทันสมัย ผลิตจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน จากประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถดับกลิ่นเหม็นต่าง��� เช่น ดับกลิ่นแมว ดับกลิ่นฉี่แมว สเปรย์ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยง สเปรย์ดับกลิ่นสุนัข ดับกลิ่นคอกสัตว์ รวมถึงยังสามารถไล่แมลงวัน ลดแมลงวัน แบบเร่งด่วน แทนการใช้กาวดักแมลงวัน หรือ แผ่นดักแมลงวันที่เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ทำให้หนอนแมลงวันฝ่อตาย เป็นการตัดวงจรหนอนแมลงวัน รับประกันตัวเก่าตาย ตัวใหม่ไม่เกิด ลดได้เร็วกว่า และได้ผลยาวนานกว่า
อีกทั้งยังเป็นผลิตภัณฑ์หัวเชื้อจุลินทรีย์บาซิลลัส ซับทิลิส ที่ถูกนำมาเพาะเลี้ยง ผสานเทคโนโลยีขั้นสูง ทำให้ได้จุลินทรีย์สูตรเข้มข้นมากถึง 167,000,000 เซลล์ต่อมิลลิลิตร กลายเป็นสายพันธุ์ที่แข็งแกร่ง และเป็นจุลินทรีย์ที่ดีที่สุดในท้องตลาด เพื่อใช้แก้ปัญหากลิ่นไม่พึงประสงค์ได้แบบทันใจ และนอกจากใช้ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์แล้วยังช่วยลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ของมูลสัตว์จากแมวและสุนัขได้
รวมถึงยังปลอดภัยกับสัตว์ทุกชนิด เพราะได้รับการรับรองมาตรฐานระดับโลก ไม่ว่าจะเป็น ใบรับรองจากการตรวจวิเคราะห์ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ยังได้รับการขึ้นทะเบียน จากสำนักงานป้องกันสิ่งแวดล้อมจากสหรัฐอเมริกา (US.EPA )ว่าเป็นสารชีวภาพ ในการย่อยสลายเพื่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงใบรับรองจาก NSF-International มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติจากประเทศสหรัฐอเมริกา ที่การันตีถึงคุณภาพและมาตรฐานที่สูงอีกด้วย
นอกจากนี้ "ไมโคร-เบลส" ยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่นำเข้าโดย "บริษัท ไมโคร เอ็นไวรอนเมนทัล จำกัด" ด้วยวิสัยทัศน์ “เราจะมุ่งเน้นในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรและรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืนของธรรมชาติ" รวมถึงยังการันตีคุณภาพและมาตรฐานในการกำจัดกลิ่นเหม็น ย่อยสลายซากเน่าเสีย ในอุตสาหกรรมเกษตร ฟาร์มปศุสัตว์ เช่น หมู ไก่ นกกระทา วัว เป็�� ฟาร์มหมา ฟาร์มกระต่าย ยางพารา เตาเผามูลฝอย เตาเผาศพ เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ โรงงานปูนซีเมนต์ คลังน้ำมันเชื้อเพลิง รวมไปถึงเกษตรอินทรีย์ ฯลฯ มีความปลอดภัยสูง ไม่เป็นอันตรายต่อคน สัตว์ และ สิ่งแวดล้อม ไม่มีพิษที่ก่อให้เกิดโรค สามารถฉีดพ่นโดนตัวสัตว์เลี้ยงได้ แต่ราคาไม่แพง รับประกันคุณภาพเกินราคาอย่างแน่นอน!
สนใจติดต่อสั่งซื้อหรือสอบถามรายละเอียดได้ทาง
บริษัท เซฟเอ็นไวร่อน จำกัด
ที่อยู่: 111/35 หมู่บ้านประภาวรรณโฮมร่มเกล้า 3 ซอย บึงขวาง 6 แสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510
#ไมโครเบลส
หัวเชื้อเข้มข้น #เนื้อน้ำยาสีขาวขุ่นกลิ่นหอม สะอาด น่าใช้งาน
#Micro #จุลินทรีย์ไมโคร-เบลส #ดับกลิ่นเหม็น เห็นผลทันที ตั้งแต่ครั้งแรกที่ใช้ #กำจัดแมลงวัน #ลดการเกิด #แก๊สแอมโมเนีย ในฟาร์ม
#เก็บเงินปลายทาง
#ส่งฟรี
#แก้ปัญหาฟาร์มถูกร้องเรียนจากกลิ่นเหม็น
ร้านค้าออนไลน์ในลาซาด้า
https://s.lazada.co.th/s.SyspX
ร้านค้าออนไลน์ของฉันใน Shopee! microenvi: https://shopee.co.th/microenvi?smtt=0.255751630-1663725247.5
0 notes
Text
5 องค์กรภาคีผนึกกำลัง เปิดหลักสูตร ‘โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง’รุ่นที่ 5
https://www.naewna.com/local/839585 5 องค์กรภาคีผนึกกำลัง เปิดหลักสูตร ‘โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง’รุ่นที่ 5 วันพุธ ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567, 06.00 น. ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,…
View On WordPress
0 notes
Text
รับผลิตสมุนไพร และรับผลิตยาแผนโบราณ สุขภาพดี,มีมาตรฐาน
สมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าทางสมุนไพรและการแพทย์มากมายในวัฒนธรรมไทย เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการรักษาอาการป่วยและส่งเสริมสุขภาพทั้งกายและใจของมนุษย์ ทั้งนี้การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค
การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานควรมีขั้นตอนและกระบวนการที่ถูกต้องเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัย นอกจากนี้ยังต้องใช้สมุนไพรไทยที่มีคุณภาพและสามารถรับรองมาตรฐานการผลิต ดังนั้น เพื่อรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน สิ่งที่ควรคำนึงถึงได้แก่สมุนไพรไทย:
ความรู้และการวิจัย: ในการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณควรมีการศึกษาและเข้าใจคุณสมบัติของสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณที่ต้องการผลิตสมุนไพรไทย มีการวิจัยเพื่อพัฒนาและพิสูจน์คุณภาพของสมุนไพรและยาแผนโบราณที่จะถูกนำมาใช้ในการผลิต การวิจัยนี้ควรรวมถึงการศึกษาสารสำคัญที่ปรากฏอยู่ในสมุนไพรและยาแผนโบราณเพื่อให้เข้าใจคุณสมบัติทางเคมีและสมุนไพรวิทยา
วัสดุและแหล่งที่มา: การเลือกใช้วัสดุสำคัญในการผลิตสมุนไพรและรับผลิตรับผลิตยาแผนโบราณควรพิจารณาถึงคุณภาพและความสะอาดของวัสดุที่ใช้ และควรเลือกใช้วัสดุที่ได้จากแหล่งที่มาที่มีความน่าเชื่อถือ เช่นการเก็บรักษาสมุนไพรไทยในสภาวะที่เหมาะสมและการเลือกใช้วัสดุส่งเสริมความอยู่รอดของสมุนไพร
กระบวนการผลิต: กระบวนการผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณควรมีการจัดทำแผนการผลิตที่ถูกต้องเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัย รวมถึงการกำหนดสัดส่วนและวิธีการสกัดสมุนไพรเพื่อให้ได้สารสกัดที่มีประสิทธิภาพ
การทดสอบคุณภาพ: สำหรับการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณที่มีมาตรฐาน ควรมีการทดสอบคุณภาพสมุนไพรและยาที่ผลิตขึ้นมา การทดสอบนี้ควรครอบคลุมด้านคุณภาพเชิงอาหารเสริมทางเคมีและการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากสมุนไพรที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังควรมีการทดสอบความปลอดภัยและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ และประกาศการผลิตและการใช้งานที่ชัดเจนเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงวิธีการใช้และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์เหล่านั้น
การรักษาคุณภาพ: หลังจากผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเสร็จสิ้น ควรมีการรักษาคุณภาพและการบำรุงรักษาผลิตภัณฑ์ให้คงความสดใหม่ โดยการเก็บรักษาในที่แห้งและที่มืดเพื่อป้องกันการเกิดการสล���ยสารสำคัญ รวมถึงการตรวจสอบประจุภัณฑ์และการบรรจุหีบห่อให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการสูญเสีย��ุณภาพสมุนไพรไทย
การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานเป็นการปฏิบัติที่สำคัญเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัยสำหรับผู้บริ���ภค อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคในความเป็นไทยของสมุนไพรและยาแผนโบราณที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาอาการป่วยอย่างธรรมชาติ นอกจากนี้ การรับผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณยังสร้างโอกาสให้กับชุมชนท้องถิ่นที่มีความรู้และทรัพยากรทางสมุนไพรในการเป็นผู้ผลิต ทำให้เกิดการสร้างรายได้และการอนุรักษ์สมุนไพรไทยที่มีความหายาก นอกจากนี้การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานยังสร้างโอกาสในการส่งออกผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยที่มีคุณภาพไปยังตลาดต่างประเทศ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจและการเติบโตทางอุตสาหกรรมสมุนไพรไทยอีกด้วย
ในสรุป การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานเป็นกระบวนการที่สำคัญเพื่อผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย โดยมีความสำคัญในการศึกษาและวิจัยวัสดุสำคัญที่ใช้ กระบวนการผลิตที่ถูกต้อง การทดสอบคุณภาพและการรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการสร้างโอกาสในด้านเศรษฐกิจและการส่งเสริมการอนุรักษ์สมุนไพรไทยในชุมชนท้องถิ่นและตลาดต่างประเทศการรับผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีเป็นองค์กรหรือบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการผลิตและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีส่วนประกอบจากสมุนไพรและสารจากธรรมชาติอื่น ๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรคอาการต่าง ๆ ของร่างกายให้ดีขึ้น โดยใช้สมุนไพรไทยเป็นหลักการผลิต ซึ่งสมุนไพรไทยมีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศเนื่องจากมีคุณสมบัติทางสมุนไพรและประสิทธิภาพทางการแพทย์ที่ยอดเยี่ยม
การรับผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีต้องมีมาตรฐานที่สูงและเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การผลิตควรสอดคล้องกับแนวทางและเกณฑ์ที่กำหนดโดยหน่วยงานรัฐบาลที่รับผิดชอบด้านสุขภาพ เช่น กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และองค์กรระดับสากล เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค นอกจากนี้ การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดียังต้องคำนึงถึงคุณภาพของวัสดุที่ใช้ในการผลิต ควรเลือกใช้สมุนไพรที่มีคุณภาพและส่งเสริมการปลูกสร้างความยั่งยืนของแหล่งที่มา การใช้วิธีการเก็บเกี่ยวและการสกัดที่ถูกต้องเพื่อรักษาสารสารสำคัญในสมุนไพร นอกจากนี้ยังควรมีการควบคุมคุณภาพของวัสดุและสารประกอบทางเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพและปลอดภัย
การรับผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานยังต้องคำนึงถึงการทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ ซึ่งอาจรวมถึงการทดสอบการลดการเกิดสิ่งต่างประเภท การตรวจสอบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และการวิจัยทางคลีนิกซ์เพื่อพิสูจน์ความปลอดภัยและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์
ในการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐาน ควรมีการตรวจสอบคุณภาพขั้นต้นและความสมบูรณ์ของสมุนไพรที่ใช้ ดังนั้น การเลือกบริษัทผู้ผลิตที่ได้รับมาตรฐานการผลิตดีและได้รับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงานรับรองคุณภาพ เช่น รับรอง ISO หรือ GMP (Good Manufacturing Practice) ซึ่งเป็นมาตรฐานที่กำหนดขั้นตอนและกระบวนการในการผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย การรับรองดังกล่าวเป็นการยืนยันว่าบริษัทผู้ผลิตได้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดและมีการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต
นอกจากนี้ การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานยังควรมีการตรวจสอบเรื่องความถูกต้องและความปลอดภัยของสารสกัดที่ใช้ ซึ่งสามารถทำได้โดยการส่งตัวอย่างไปตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังควรมีการควบคุมการเก็บรักษาสินค้า และ��รวจสอบการบรรจุหีบห่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน
สำหรับการผลิตอาหารเสริม ควรมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น การรับรอง GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับอาหารเสริม และควรได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
ในกรณีของสมุนไพรไทยที่ใช้ในการผลิต ควรใช้สมุนไพรที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานรัฐบาลหรือองค์กรที่มีความเชี่ยวช่วยเสริมเพิ่มการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐาน ควรมีการตรวจสอบและรับรองคุณภาพของสมุนไพรที่ใช้ในการผลิต โดยควรเลือกใช้สมุนไพรที่มีคุณภาพและสามารถตรวจสอบได้ว่ามาจากแหล่งที่มีความสะอาดและปลอดสารพิษ การทำการสกัดควรใช้วิธีการที่เหมาะสมและได้รับการตรวจสอบว่าสารสกัดมีประสิทธิภาพและปลอดภัย นอกจากนี้ยังควรมีการทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมา เพื่อให้มั่นใจว่าสินค้ามีคุณภาพและได้รับมาตรฐานการผลิตที่เหมาะสม
การรับผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานยังควรมีการสนับสนุนและรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือหน่วยงานที่มีอำนาจในการรับรองคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เช่น สมาคมสมุนไพรไทย ที่ได้กำหนดมาตรฐานและเกณฑ์การผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณในกระบวนการรับรองคุณภาพ
ทั้งนี้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีความเชื่อมั่นและมีคุณภาพที่ดี การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อส
ุขภาพดีและมีมาตรฐานยังควรมีการตรวจสอบความเป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง เช่น การรับรอง GMP (Good Manufacturing Practice) สำหรับอุตสาหกรรมสมุนไพรและยาแผนโบราณ และการได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และองค์กรระดับสากลที่รับรองคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เช่น สมาคมมาตรฐาน ISO (International Organization for Standardization)
การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานยังควรมีการดูแลและสนับสนุนการพัฒนาผู้ผลิตท้องถิ่น โดยการให้คำแนะนำในการปรับปรุงกระบวนการผลิตและเพิ่มความเข้มแข็งในด้านคุณภาพและมาตรฐาน เช่น การให้ความรู้และการอบรมเกี่ยวกับการรับผลิตและการควบคุมคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยและยาแผนโบราณในการส่งออกไปยังตลาดนานาชาติ
ในที่สุด เพื่อให้การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานเป็นไปได้อย่างเต็มที่ ควรมีการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมสมุนไพรและยาแผนโบราณ และรัฐบาล เพื่อพัฒนานโยบายและลงมือสร้างระบบการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณที่มีมาตรฐานและคุณภาพสูงขึ้น โดยการพัฒนาแผนกำกับการผลิตที่เข้มแข็งและเป็นระบบ เพื่อให้มั่นใจได้ว่ากระบวนการผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเป็นไปตามข้อกำหนดและมีคุณภาพสูงสุด
การสร้างความร่วมมือกับเกษตรกรและสวนสมุนไพรในการปลูกและเก็บเกี่ยวสมุนไพรที่มีคุณภาพสูง โดยให้คำแนะนำและการอบรมในการใช้วิธีการปลูกที่เหมาะสมและการดูแลรักษาที่ถูกต้อง เพื่อให้ได้สมุนไพรที่มีคุณภาพและสารสกัดที่มีประสิทธิภาพ
การสร้างระบบการควบคุมคุณภาพที่เข้มงวดตลอดกระบวนการผลิต ตั้งแต่การเลือกวัสดุเริ่มต้นจนถึงการบรรจุหีบห่อและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของสมุนไพรและสารสกัด และการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตเพื่อปรับปรุงคุณภาพ
การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ด้วยการให้การอบรมและการพัฒนาทักษะเชิงวิชาชีพในการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณที่มีมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจให้กับผู้บริโภค ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนการทดสอบและการรับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่เชี่ยวชาญด้านการวิจัยและการทดสอบ ซึ่งสามารถให้ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์เกี่ยวกับสมุนไพรและยาแผนโบราณได้ นอกจากนี้ยังควรมีการติดตามและประเมินผลผลิตภัณฑ์เพื่อให้มั่นใจว่าสินค้าที่ผลิตขึ้นมามีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐานที่กำหนด
ในการส่งออกสมุนไพรและยาแผนโบราณไทยที่ผลิตขึ้น ควรมีการเสริมสร้าง��ารตลาดและการต่อรองเพื่อเข้าถึงตลาดต่างประเทศ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์และการตลาดออนไลน์ และการเข้าร่วมนิทรรศการและงานแสดงสินค้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสริมสร้างความรู้จักและความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาแผนโบราณไทยที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน
ทั้งนี้ การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานเป็นกระบวนการที่ต้องมีการควบคุมและดูแลอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา เพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงคุณภาพและมีความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาแผนโบราณที่ผลิตขึ้นมา เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐานที่กำหนด รวมถึงเพื่อสร้างความพึงพอใจในผู้บริโภคและเพิ่มความไว้วางใจในการใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
นอกจากนี้ ยังควรมีการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในด้านสมุนไพรและยาแผนโบราณ เพื่อนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังควรสร้างการร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิจัยเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์และทดลองในการพัฒนาสมุนไพรและยาแผนโบราณ
ในที่สุด เพื่อให้การรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐานเป็นไปตามที่คาดหวัง ควรมีการติดตามและประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อตรวจสอบว่ากระบวนการผลิตยังคงมีมาตรฐานและคุณภาพสูง และปรับปรุงกระบวนการตามความต้องการและเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมสมุนไพรและยาแผนโบราณให้สอดคล้องกับสภาวะการเปลี่เพื่อต่อยอดและเติบโตทางธุรกิจในการรับผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณเพื่อสุขภาพดีและมีมาตรฐาน ควรมีการสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมธุรกิจสมุนไพร หรือสมาคมผู้ผลิตยาแผนโบราณ เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล และสนับสนุนทางเทคนิคและการบริหารจัดการที่เหมาะสม
การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนทางนโยบายและการส่งเสริมในการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณ ซึ่งอาจเป็นการรับรองหรือสนับสนุนทางการเงิน เป็นต้น
การสร้างชุมชนและเครือข่ายทางธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูล และประสบการณ์ รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนการตลาดและการเข้าถึงตลาดที่กว้างขวางยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ ควรสร้างการเสริมสร้างและการประชาสัมพันธ์ที่เป็นทางการเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของสมุนไพรและยาแผนโบราณ เพื่อเสริมความตระหนักในสาธารณสุขและการใช้ยาแผนโบราณในสังคม
ในที่สุด ควรมีการติดตามและประเมินผลเพื่อปรับปรุงและพัศึกษาแนวโน้มและความต้องการของตลาดเพื่อปรับกลยุทธ์และก้าวสู่การผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณที่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า การวิเคราะห์ตลาดเชิงลึก เช่น การศึกษาภาวะความต้องการของผู้บริโภคในการใช้สมุนไพรและยาแผนโบราณ เพื่อให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อความต้องการและเป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง
การขยายตลาดไปยังตลาดนานาชาติ โดยการศึกษาและประเมินความต้องการและข้อกำหนดของตลาดต่างประเทศ และการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับการส่งออกไปยังตลาดนานาชาติ
การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในกระบวนการผลิต การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อการสกัดสารสกัดที่มีประสิทธิภาพและการแยกสารที่ดีขึ้น และการควบคุมกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มความเสถียรภาพและประสิทธิภาพ
การติดตามและประเมินผลของกระบวนการผลิต โดยการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ การควบคุมคุณภาพระหว่างกระบวนการผลิต และการตรวจสอบผลิตภศึกษาและนำเอาเทคโนโลยีการผลิตที่ยังไม่เคยใช้มาก่อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นมาตรฐานของกระบวนการผลิต ตัวอย่างเช่นการใช้เทคโนโลยีการสกัดสารสกัดสมุนไพรแบบแยกสาร (fractionation) เพื่อให้ได้สารสกัดที่มี��ุณสมบัติและประสิทธิภาพที่ต้องการ
ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการวิจัยในการรับผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณ เช่น การสนับสนุนทุนวิจัย การสร้างพื้นที่สำหรับการทดลองและการพัฒนา และการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิจัยที่เชี่ยวชาญในเรื่องสมุนไพรและยาแผนโบราณ
พัฒนากลไกการรับรองคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์สมุนไพรและยาแผนโบราณ เพื่อให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นและไว้วางใจในคุณภาพและปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังควรมีการติดตามและประเมินผลการใช้งานของผลิตภัณฑ์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
สร้างการร่วมมือกับองค์กรระดับสากลที่มีความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพรและยาแผนโบราณ เพื่อให้ได้รับการปรึกษาและคำแนะนำในกระบวนการผลิตที่มก่อนอื่นให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องในการผลิตสมุนไพรและยาแผนโบราณ ศึกษาและปฏิบัติตามมาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) และ HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Points) เพื่อให้มีกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพสูง
เพื่อเสริมสร้างความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์ ควรมีการทำการทดสอบคุณภาพของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ โดยใช้วิธีการทดสอบที่มีความน่าเชื่อถือและประสิทธิภาพ เช่น การทดสอบสารปนเปื้อน การตรวจสอบสารสกัด การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญ เป็นต้น
สร้างและบริหารจัดการโรงงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและมีก��รควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเข้มงวด และใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเสถียรภาพของการผลิต
ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจในอุตสาหกรรมสมุนไพรและยาแผนโบราณ โดยการเชื่อมโยงกับผู้ประกอบการและนักวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสมุนไพรและรับผลิตยาแผนโบราณ
0 notes
Text
0 notes