#โรคเก๊าท์
Explore tagged Tumblr posts
Text
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์ หนึ่งในโรคกระดูกและข้อที่พบบ่อยในผู้สูงอายุเกิดจากการกินโปรตีนบางชนิดมากเกินไป กีฬาออนไลน์ ซึ่งโปรตีนดังกล่าวจะย่อยสลายเป็นกรดยูริคไปตกตะกอนในข้อทำให้ข้อหรือเนื้อเยื่อรอบๆ ข้ออักเสบเฉียบพลันการเกิดโรคเก๊าท์ผู้ป่วยมักมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานพอสมควรโดยเฉลี่ยมากกว่า 20 ปีขึ้นไปโดยเฉพาะถ้าระดับกรดยูริกยิ่งสูง อุบัติการณ์การเกิดโรคจะยิ่งเพิ่มมากขึ้น เกิดอาการได้เร็วยิ่งขึ้นในเพศชายพบโรคนี้ได้บ่อยกว่าเพศหญิงประมาณ 10 เท่า แต่วัยหลังหมดประจำเดือน เพศหญิงจะพบโรคสูงขึ้นเมื่อเทียบกับเพศชาย
อาการ โรคเก๊าท์
การอักเสบ ของข้อครั้งแรกมักพบในเพศชายอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไป โดยเฉลี่ย 40-60 ปี แต่ในเพศหญิงมักพบหลังวัยหมดประจำเดือนแล้ว ข้ออักเสบในระยะแรกมักเป็นเพียง 1-2 ข้อ เดิมพันกีฬาออนไลน์ จะมีการอักเสบรุนแรงเป็นเฉียบพลัน จากระยะเริ่มปวดจนอักเสบเต็มที่ภายใน 24 ชั่วโมง ส่วนมากจะเกิดขึ้นทีละ 1 ข้อ ข้อที่พบบ่อย ได้แก่ โคนนิ้วโป้งเท้า ข้อเท้า ข้อกลางเท้า ข้อเข่า ข้อนิ้วมือ ข้อกลางมือ ข้อมือ ข้อศอก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือรักษาไม่ถูกต้อง จำนวนข้อที่อักเสบจะเพิ่มขึ้น เริ่มพบที่ข้อมือ ข้อนิ้วมือ และข้อศอก การอักเสบรุนแรงขึ้น เป็นถี่ขึ้นและนานขึ้น จนกลายเป็นการอักเสบเรื้อรังไม่มีช่วงหายสนิท
อาหารที่ควรกิน
ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเก๊าท์ สามารถกินอาหารที่มี สล็อตออนไลน์ สารพิวรีนต่ำได้ไม่จำกัด ได้แก่ นม ไข่ ธัญพืช ต่าง ๆ ผักสดต่าง ๆ ผลไม้
อาหารที่มีสารพิวรีนปานกลาง กินได้น้อย (หากกินรวมกันต้องไม่เกิน 100 กรัมต่อวัน ) ได้แก่ เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัวที่ไม่ติดมัน ปลากระพงแดง ปลาหมึก ปู ถั่วลิสง ข้าวโอ๊ต พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลันเตา สะตอ ดอกกะหล่ำ ผักโขม
อาหารที่ไม่ควรกิน
เนื้อสัตว์ปีก เช่น เป็ด ไก่เครื่องในสัตว์ต่างๆ หัวใจ ตับอ่อน ไต มันสมองปลา เช่น ปลาดุก ปลาอินทรีย์ ปลาไส้ตัน ปลาซาร์ดีน ไข่ปลา กุ้ง หอย กะปิ
ผัก เช่น เห็ด กระถิน ชะอม ขี้เหล็ก หน่อไม้
ถั่วต่างๆ เช่น ถั่วแดง ถั่วแระ ถัวเขียว ถั่วเหลือง
เบียร์ ขนมปังผสมยีสต์ น้ำต้มกระดูก
โรคที่พบร่วมกับโรคเก๊าท์
โรคอ้วน
โรคเบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง โรคไขมันในเลือดสูงโดยเฉพาะระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ พบว่าสูงร้อยละ 80 ของคนไข้โรคเก๊าท์ทั้งหมด
ความดันโลหิตสูง
โรคหลอดเลือดแข็งผิดปกติ
ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากสารตะกั่ว
โรคไตวายเรื้อรัง คนไข้เป็นโรคไตที่สภาวะการทำงานของไตลดลงมาก ก็เป็นปัจจัยที่ทำให้ระดับกรด ยูริกสูงขึ้น เนื่องจากความสามารถในการขับถ่ายกรดยูริกออกทางปัสสาวะลดลง ผู้ป่วยที่เป็นโรคเก๊าท์อยู่แล้ว และไตเสื่อมลงไปอีกยิ่งทำให้ระดับกรดยูริกสูงขึ้น ผู้ป่วยโรคเก๊าท์จะเสียชีวิตจากภาวะไตวายประมาณร้อยละ 10 นั่นเอง
0 notes
Text
5 วิธีลดกรดยูริก ป้องกันโรคเก๊าท์
กรดยูริก เป็นสารที่ร่างกายสร้างขึ้นเมื่อย่อยสลายสารพิวรีน สารพิวรีนพบในอาหารบางชนิด เช่น เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล ถั่วบางชนิด และผักใบเขียวบางชนิด เมื่อกรดยูริกมีในเลือดสูง อาจเกิดผลึกสะสมในข้อต่อ กระตุ้นอาการปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อต่อ เรียกว่า โรคเก๊าท์
วิธีลดกรดยูริก มีหลายวิธี ดังนี้
1. ปรับพฤติกรรมการกิน
เลี่ยงอาหารที่มีสารพิวรีนสูง เช่น เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีกบางชนิด ปลาซาร์ดีน ปลาแฮร์ริ่ง ถั่วบางชนิด เห็ด แอสปารากัส
ทานอาหารที่มีใยอาหารสูง เช่น ข้าวกล้อง ธัญพืช ผัก ผลไม้
ดื่มน้ำเปล่าให้เพียงพอ อย่างน้อยวันละ 2 ลิตร
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง
2. ควบคุมน้ำหนัก
การมีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเก๊าท์ การลดน้ำหนักอย่างเหมาะสม ช่วยลดระดับกรดยูริกในเลือด
3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
การออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ ช่วยควบคุมน้ำหนัก เพิ่มการเผาผลาญ และลดระดับกรดยูริก
4. ยา
แพทย์อาจสั่งยาเพื่อลดกรดยูริก เช่น ยา allopurinol, febuxostat ยาเหล่านี้ช่วยลดการผลิตกรดยูริกในร่างกาย
5. สมุนไพร
มีสมุนไพรบางชนิดที่อาจช่วยลดกรดยูริก เช่น ตำลึง เฉาก๊วย บอระเพ็ด ขิง แต่ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้
การลดกรดยูริก เป็นสิ่งสำคัญในการป้องกันโรคเก๊าท์ และลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน การปรับพฤติกรรมการกิน ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกาย และทานยาตามคำแนะนำของแพทย์ ช่วยลดระดับกรดยูริก และป้องกันโรคเก๊าท์ได้
ข้อควรระวัง
การลดกรดยูริกลงอย่างรวดเร็ว อาจทำให้เกิดนิ่วในไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเริ่มลดกรดยูริก
ยาลดกรดยูริกอาจมีผลข้างเคียง ควรปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับผลข้างเคียงของยา
หรือ เลือกใช้วิธีการลดกรดยูริกด้วย สมุนไพรลดกรดยูริก
0 notes
Link
0 notes
Text
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์ หนึ่งในโรคกระดูกและข้อที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ สมัคร igoal88 เกิดจากการกินโปรตีนบางชนิดมากเกินไป ซึ่งโปรตีนดังกล่าวจะย่อยสลายเป็นกรดยูริคไปตกตะกอนในข้อทำให้ข้อหรือเนื้อเยื่อรอบๆ ข้ออักเสบเฉียบพลันการเกิดโรคเก๊าท์ผู้ป่วยมักมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานพอสมควร โดยเฉลี่ยมากกว่า 20 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะถ้าระดับกรดยูริกยิ่งสูง อุบัติการณ์การเกิดโรคจะยิ่งเพิ่มมากขึ้น เกิดอาการได้เร็วยิ่งขึ้น ในเพศชายพบโรคนี้ได้บ่อยกว่าเพศหญิงประมาณ 10 เท่า แต่วัยหลังหมดประจำเดือน เพศหญิงจะพบโรคสูงขึ้นเมื่อเทียบกับเพศชาย
อาการ โรคเก๊าท์
การอักเสบ ของข้อครั้งแรกมักพบในเพศชายอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไป โดยเฉลี่ย 40-60 ปี แต่ในเพศหญิงมักพบหลังวัยหมดประจำเดือนแล้ว ข้ออักเสบในระยะแรกมักเป็นเพียง 1-2 ข้อ สมัคร igoal88 จะมีการอักเสบรุนแรงเป็นเฉียบพลัน จากระยะเริ่มปวดจนอักเสบเต็มที่ภายใน 24 ชั่วโมง ส่วนมากจะเกิดขึ้นทีละ 1 ข้อ ข้อที่พบบ่อย ได้แก่ โคนนิ้วโป้งเท้า ข้อเท้า ข้อกลางเท้า ข้อเข่า ข้อนิ้วมือ ข้อกลางมือ ข้อมือ ข้อศอก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือรักษาไม่ถูกต้อง จำนวนข้อที่อักเสบจะเพิ่มขึ้น เริ่มพบที่ข้อมือ ข้อนิ้วมือ และข้อศอก การอักเสบรุนแรงขึ้น เป็นถี่ขึ้นและนานขึ้น จนกลายเป็นการอักเสบเรื้อรังไม่มีช่วงหายสนิท
อาหารที่ควรกิน
ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเก๊าท์ สมัครสมาชิก igoal สามารถกินอาหารที่มี สารพิวรีนต่ำได้ไม่จำกัด ได้แก่ นม ไข่ ธัญพืช ต่าง ๆ ผักสดต่าง ๆ ผลไม้
อาหารที่มีสารพิวรีนปานกลาง กินได้น้อย (หากกินรวมกันต้องไม่เกิน 100 กรัมต่อวัน ) ได้แก่ เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัวที่ไม่ติดมัน ปลากระพงแดง ปลาหมึก ปู ถั่วลิสง ข้าวโอ๊ต พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลันเตา สะตอ ดอกกะหล่ำ ผักโขม
อาหารที่ไม่ควรกิน
เนื้อสัตว์ปีก เช่น เป็ด ไก่เครื่องในสัตว์ต่างๆ หัวใจ ตับอ่อน ไต มันสมองปลา เช่น ปลาดุก ปลาอินทรีย์ ปลาไส้ตัน ปลาซาร์ดีน ไข่ปลา กุ้ง หอย กะปิ
ผัก เช่น เห็ด กระถิน ชะอม ขี้เหล็ก หน่อไม้
ถั่วต่างๆ เช่น ถั่วแดง ถั่วแระ ถัวเขียว ถั่วเหลือง
เบียร์ ขนมปังผสมยีสต์ น้ำต้มกระดูก
โรคที่พบร่วมกับโรคเก๊าท์
โรคอ้วน
โรคเบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง โรคไขมันในเลือดสูงโดยเฉพาะระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ พบว่าสูงร้อยละ 80 ของคนไข้โรคเก๊าท์ทั้งหมด
ความดันโลหิตสูง
โรคหลอดเลือดแข็งผิดปกติ
ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากสารตะกั่ว
โรคไตวายเรื้อรัง คนไข้เป็นโรคไตที่สภาวะการทำงานของไตลดลงมาก ก็เป็นปัจจัยที่ทำให้ระดับกรดยูริกสูงขึ้น เนื่องจากความสามารถในการขับถ่ายกรดยูริกออกทางปัสสาวะลดลง ผู้ป่วยที่เป็นโรคเก๊าท์อยู่แล้ว และไตเสื่อมลงไปอีกยิ่งทำให้ระดับกรดยูริกสูงขึ้น ผู้ป่วยโรคเก๊าท์จะเสียชีวิตจากภาวะไตวายประมาณร้อยละ 10
โรคเลือดชนิด Sickle Cell Anemia, MyeloproliferativeDisease ผู้ป่วยโรคเลือดบางชนิด เช่นโรคมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งต่อมน้ำเหลือง หรือได้รับเคมีบำบัดจะทำให้เซลล์ถูกทำลายอย่างรวดเร็ว จนทำให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงมากๆ ก่อให้เกิดโรคเก๊าท์ ข้ออักเสบ นิ่วที่ไต หรือแม้แต่ตัวกรดยูริกเองไปอุดตันตามท่อเล็กๆ ในเนื้อไต ทำให้เกิดไตวายได้
ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดข้ออักเสบ หรือทำให้ข้ออักเสบหายช้า
การได้รับยาบางชนิด เช่น ยาลดกรดยูริก ยาขับปัสสาวะ หรือยาแอสไพริน เป็นต้น จึงไม่ควรเริ่มยา หรือปรับเปลี่ยนยาดังกล่าวขณะที่มีข้ออักเสบ เพราะจะทำให้มีอาการมากขึ้น หรือหายช้า นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่นๆ ร่วมได้แก่ การบาดเจ็บที่ข้อ การบีบนวดข้อ การดื่มแอลกอฮอล์ การผ่าตัด เสียเลือด เสียน้ำ และการติดเชื้อ
การรักษา
ให้ยาแก้อักเสบในระยะเฉียบพลัน
กรณีกรดยูริกสูงมาก เมื่อรักษาอาการอักเสบเฉียบพลันจนทุเลาลงแล้ว จึงให้ยาลดกรดยูริก
งดเว้นอาหารที่มีกรดยูริกสูง และให้รับประทานอาหารที่มีกรดยูริกต่ำเป็นต้น
0 notes
Link
โรคเก๊าท์ มีอาการปวด บวม แดง ร้อนตามข้อ และเจ็บ อาจรุนแรงจนถึงกับเดินไม่ได้ก็มี ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากการสะสมของกรดยูริคในร่างกายที่เกินกว่าปกติค่ะ เมื่อมีปริมาณการสะสมของกรยูริคในร่างกายมากกว่าปกติเป็นระยะเวลานาน กรดยูริคจะเริ่มเกิดการตกผลึกสะสมอยู่ตามอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ตามข้อต่อต่างๆ จนทำให้เกิดอาการอักเสบและปวดบวมแดงค่ะ
0 notes
Photo
สมุนไพรรักษา โรคเก๊าท์ ขับกรดยูริค บรรเทาอาการเจ็บปวด โรคเก๊าท์ (Gout) คือ โรคข้ออักเสบชนิดหนึ่ง เกิดจากการมีปริมาณกรดยูริกในเลือดมากเกินไป อาจเกิดจากกระบวนการเผาผลาญของร่างกายผิดปกติหรือระบบไตทำงานไม่ดีจึงไม่สามารถขับกรดยูริกออกมาได้ ทำให้เกิดการตกตะกอนของเกลือยูเรต จนเป็นผลึก สะสมอยู่ตามส่วนต่างๆของร่างกาย โดยเฉพาะไต และข้อต่อต่างๆ คนที่เป็นโรคเก๊าท์จะมีอาการข้ออักเสบเฉียบพลัน […] ... อ่านต่อที่นี่ สมุนไพรรักษา โรคเก๊าท์ ขับกรดยูริค บรรเทาอาการเจ็บปวด
0 notes
Video
youtube
G Arvee คุณพ่อเป็นโรคเก๊าท์ คุณพรทิพย์ จ กรุงเทพ
#โรคเก๊าท์ #Garvee
สั่งซื้อ คลิก!! https://cutt.ly/garvee https://cutt.ly/garvee3 https://cutt.ly/garvee5 -------------------------------------------------- ปรึกษาปัญหาสุขภาพ 📱 Add Line : https://lin.ee/itKCQnK 📞 https://1th.me/8Rxdc
0 notes
Link
อาการปวดข้อเข่า ข้อเข่าเสื่อม เริ่มจากเข่าหลวมเวลาเดิน ขึ้น-ลงบันได หรือนั่งพับเข่า จะมีเสียงดัง เพราะกระดูกและลูกสะบ้าสีกัน ต่อไปจะเริ่มเสียวเดินไม่ปกติจนเกิดกระเผลก ทำให้ขาอีกข้างหนึ่งต้องทำงานหนักแทนและอาจทำเป็นทั้งสองข้าง จนบวมและเจ็บมาก พบได้ในคนทุกเพศทุกวัย แต่มักมีกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้สูงอายุ ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน และนักกีฬาที่ต้องใช้กำลังขาและเข่ามาก ทั้งนี้อาการปวดเข่าเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ วิธีการรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุของอาการปวด ดังนั้น หากเกิดอาการปวด ควรปรึกษาแพทย์ เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาที่ตรงจุด วันนี้เรามีข้อมูลดีๆ จากโรงพยาบาลนนทเวชเกี่ยวกับอาการปวดข้อปวดเข่ามาฝากค่ะ ปวดเข่า เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ปวดรอบเข่า หน้าขา มักมีสาเหตุมาจากหลัง ปวดร้าวลงมา (ต้องแก้ปัญหาเรื่องหลังอาการจะหายไปเอง) 2. ปวดที่ข้อเข่า มักจะเป็นด้านในของเข่าก่อน ต่อไปจะมีอาการบวมร่วมด้วยเสมอ ปวดที่ข้อเข่า (ข้อเข่าเสื่อม) เริ่มจากเข่าหลวมเวลาเดิน นั่ง ขึ้น-ลงบันได จะมีเสียงดังเพราะกระดูกและลูกสะบ้าสีกัน ต่อไปจะเริ่มเสียวเดินไม่ปกติจนเกิดกระเผลก (ซึ่งทำให้ขาอีกข้างหนึ่งต้องทำงานหนักแทน และอาจทำให้เป็นทั้งสองข้าง) เกิดบวมเจ็บมาก เข่าจะยิ่งหลวมและโค้งออกข้างๆ (เข่าค้อม)
พบใน - วัยสูงอายุ - วัยหนุ่มสาวที่ใส่ส้นสูงนานๆ เดิน-ยืนมากๆ - น้ำหนักตัวมากยกของหนักเป็นประจำ ขึ้นลงบันไดบ่อยๆ - เคยได้รับอุบัติเหตุหกล้มเข่ากระแทก มีปัญหาจากหลังนานๆ - โรคข้อต่างๆ รูมาตอยด์ ข้ออักเสบ โรคเก๊าท์ การป้องกันและดูแลตัวเอง - คุมน้ำหนักตัวให้เหมาะกับอายุและอาชีพ - อายุยิ่งมากกระดูกก็ยิ่งบาง ควรควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม - ขึ้นลงบันไดเท่าที่จำเป็น ผู้สูงอายุไม่ควรขึ้น-ลงบันได - นอนเตียงแทนการนอนพื้นเพื่อไม่ต้อง��อเข่ามาก - นั่งเก้าอี้ที่สูงพอเข่าตั้งฉากเท้าถึงพื้น (ไม่ควรนั่งโซฟานิ่มๆ) ไม่นั่งกับพื้นนานๆ - หลีกเลี่ยงการนั่งพับเพียบ - การเดิน ขึ้น-ลงบันได ให้ก้าวขาดีขึ้นแล้วตามด้วยขาที่เจ็บและตอนลงให้ก้าว ขาเจ็บลงแล้วตามด้วยขาดี (บนบันไดขั้นเดียวกัน)
ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น (ยังไม่ยุบบวมหรือยังเจ็บอยู่) ต้องไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุของโรคและรับการรักษาด้วยวิธีที่เหมาะสมต่อไป ถ้าทิ้งไว้นานๆ กระดูกจะสึกหรอมากขึ้นกว่าเข่าค้อม (โก่งออกด้านข้าง) จะทำให้ขาสั้นเดินกระเผลกมากขึ้นและปวดหลังได้ ซึ่งจะต้องถึงขั้นผ่าตัด หรือใส่ข้อเข่าเทียมถ้าทุเลาปวด ยุบบวมให้เริ่มบริหารเข่า ถ้าเดินเจ็บเสียวมาก - ให้ใส่ปลอกเข่าหรือ ผ้าพันพยุงเข่าไว้ และควรถือไม้เท้าด้านตรงข้ามกับเข่าข้างเจ็บ เพื่อแบ่งน้ำหนักตัวไปลงที่ไม้เท้า ช่วยลดน้ำหนักที่จะลงเข่า - ใช้ความร้อนประคบ ทายา นอนพัก ใช้หมอนรองใต้เข่าเพื่อให้ช่องว่างในเข่าเผยอออก เยื่อบุเข่าจะไม่ถูกบีบมากการอักเสบก็จะดีขึ้น - การนอน ควรใช้หมอนรองเข่า ถ้าเวลาพลิกตัวมีอาการปวดมากขึ้น ก็ควรใช้ผ้าพันเข่าเพื่อช่วยผยุงไว้ (ไม่ควรพันให้แน่นเกินไปเพราะอาจทำให้ข้อเท้าบวมได้) ถ้าทุเลาปวด ยุบบวม ให้เริ่มบริหารเข่า บริหารไม่ต้านน้ำหนัก (ถ้ามีปลอกเข่าก็สวมด้วย) 1. บริหารอยู่กับที่ (ควรทำในท่านอน) - นอนหงาย วางเข่า 2 ข้างบนหมอน ส้นเท้าวางลงพื้น เกร็งกล้ามเนื้อหน้าขา (กดขาพับลงบนหมอนส้นเท้าวางกับพื้น) - นับ 1-10 ��ัก (นับ 1-10 = 1ครั้ง ) ทำทั้งหมด 10 ครั้ง ถ้าขณะที่บริหารมีอาการปวด ให้หยุดบริหาร
- ท่านั่ง นั่งเก้าอี้ ก้นชิดและพิงผนัง ควรมีม้วนผ้ารองใต้ขาเหนือเข่า (ใกล้ขอบเก้าอี้ที่นั่ง) จะทำให้ตัวไม่แอ่นหรือหลังโก่งเหยียดเข่าตรง เกร็ง นับ 1-10 พัก (เวลาพักควรวางเท้าบนไม้รองเท้าเตี้ยๆ) แล้วนับ 1-10 ต่อทำจนครบ 10 ครั้งแล้วสลับข้าง
2. บริหารแบบเคลื่อนไหวที่เข่า (ทำในลักษณะต้านทางแรงดึงดูดของโลก) ทำได้ทั้งท่านอนและท่านั่ง ให้เริ่มตั้งแต่น้อยครั้งแล้วค่อยๆ เพิ่มจนครบ 10 ครั้ง 2.1 ท่าเหยียดเข่า - ท่านอนหงาย นอนหงาย วางเขาลงบนหมอนข้าง (รองใต้ขาพับ) เกร็งกล้ามเนื้อหน้าขา เข่าเหยียดตรง (ส้นเท้าลอยจากพื้น ต้นขาอยู่กับที่ นับ 1-10 ทำจนครบ 10 ครั้ง)
2.2 ท่างอเข่า นอนคว่ำ หมอนรองที่หน้าท้องบริเวณบั้นเอวก้นและหลัง (ถ้านอนคว่ำไม่ได้ให้นอนตะแคง) ถ้าเข่ามีเสียงดังให้งอแค่ตั้งฉาก ถ้าไม่มีเสียงให้งอเต็มที่ การบริหารท่านี้ หากงอเข่าแม้เพียงเล็กน้อยก็มีอาการปวดให้หยุดทำ ต้องรักษาให้หายอักเสบก่อน
อาการปวดเข่าส่วนใหญ่มักไม่ใช่อาการที่รุนแรง แต่อาการปวดเข่าที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยบางอย่าง เช่น โรคข้อเสื่อม หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่รีบรักษา อาการอาจรุนแรงขึ้นและทำให้พิการได้ นอกจากนั้น ผู้ป่วยที่เคยมีอาการบาดเจ็บที่เข่า แม้จะเป็นเพียงการบาดเจ็บเล็กน้อย อาจมีแนวโน้มที่จะเกิดการบาดเจ็บคล้ายเดิมขึ้นอีกในอนาคต หากท่านใดเริ่มมีอาการปวดข้อปวดเข่า ควรปรึกษาแพทย์ เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาที่ตรงจุด หรือมีปัญหาในเรื่องสุขภาพ ไม่ว่าจะด้านใด สามารถขอคำปรึกษากับคุณหมอได้ที่โรงพยาบาลนนทเวช ขอบคุณข้อมูล : https://www.nonthavej.co.th/Knee-Pain-Symptoms.php
0 notes
Text
โรคของจระเข้
โรคในจระเข้พอจะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
โรคไม่ติดเชื้อ และโรคติดเชื้อ โรคไม่ติดเชื้อเกิดได้จากสาเหตุดังต่อไปนี้
1. สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
1.1 อุณหภูมิ จระเข้จำเป็นต้องใช้แหล่งพลังงานความร้อนจากภายนอก คือ แสงแดด ในการเพิ่มอุณหภูมิให้แก่ร่างกาย เช่นนอนอาบแดด ทั้งนี้อุณหภูมิที่เหมาะสมสบายตัวกับจระเข้จะอยู่ระหว่าง 32 องศาเซลเซียส สำหรับจระเข้ขนาดเล็ก และ 30 องศาเซลเซียสสำหรับจระเข้ขนาดใหญ่
1.2 คุณภาพของน้ำ น้ำที่เหมาะสำหรับจระเข้ที่สุดคือ น้ำสะอาด มีปริมาณแอมโมเนียต่ำ สิ่งปฏิกูล สารพิษ หรือสิ่งปลอมปนอื่น ๆ ต้องมีน้อยที่สุด แหล่งน้ำเสียจะเป็นแหล่งสะสมของเศษอาหารและสิ่งขับถ่ายซึ่งทำให้มีแก๊สแอมโมเนียสูงขึ้น จะเกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและตาจระเข้เป็นอย่างมาก โอกาสติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนที่มีอยู่อย่างมากในแหล่งน้ำจึงมีสูง การจะให้น้ำสะอาดอยู่เสมอควรจะต้องมีการถ่ายน้ำให้บ่อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ทั้งนี้จำเป็นต้องได้รับการตรวจคุณภาพน้ำอยู่เป็นระยะ ๆ บางแห่งเปลี่ยนน้ำทุกวัน จึงพบว่าอัตราการเจริญเติบโตของจระเข้เป็นไปอย่างรวดเร็ว แต่ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงการเปลี่ยนน้ำด้วยว่า ต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่เอะอะโครมครามจนเกิดความตื่นตกใจแก่จระเข้และเพิ่มความเครียดขึ้นได้
1.3 จำนวนจระเข้ในบ่อเลี้ยง จำนวนจระเข้หรือประชากรจระเข้ที่เลี้ยงในแต่ละบ่อ จำเป็นต้องมีสัดส่วนที่พอเหมาะกับขนาดบ่อเลี้ยงหากจระเข้ แออัดเกินย่อมทีให้เกิดการต่อสู้แก่งแย่งอาหารกัน อาจเกิดแผลและเกิดโรคติดเชื้อบนผิวหนังได้ง่าย นอกจากนี้อาจทำให้ดูแลไม่ทั่วถึง มีอัตราการผสมติดต่ำ เพราะเกิดการแก่งแย่งในการผสมพันธุ์และการกดขี่ตามสำดับขั้น รวมถึงการจับหรือการขนย้ายจะทำได้ลำบากขึ้น
1.4 สถานที่เลี้ยง อาจมีแตกต่างกันไปเช่น บ่อน้ำธรรมชาติ บ่อดิน บ่อซีเมนต์ จนไปถึงอ่างไฟเบอร์กลาส ฯลฯ แตกต่างกันไปตามฐานะทางเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์ของการเลี้ยง และเทคโนโลยีของแต่ละฟาร์ม แต่สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงคือ
ก. ขนาด ความต้องการพื้นที่ของจระเข้หนึ่งตัวคือ ขนาดของจระเข้ ค��ณ 3 เท่า ของความยาวของจระเข้ มีอัตราส่วนพื้นที่บกเท่ากับพื้นน้ำ หรืออย่างน้อย 2 ใน 3 ของพื้นที่น้ำ ส่วนความลึกของน้ำอย่างต่ำ 60 เซนติเมตร
ข. พื้นผิว เนื่องจากจระเข้เป็นสัตว์ที่คลานบนดินและใต้น้ำ โอกาสสัมผัสกับพื้นผิวจึงมีเกือบตลอดเวลา ฉะนั้นความเรียบหรือหยาบของพื้นผิวจึงมีความสำคัญ เพราะสามารถทำให้หนังท้องจระเข้เกิดรอยขีดข่วนจนถึงบาดเจ็บ และมีการติดเชื้อเกิดขึ้นได้ ราคาหนังจระเข้จะตกลงหารมีตำหนิดังกล่าวเกิดขึ้น พื้นผิวซีเมนต์ขัดเรียบจึงเหมาะกว่าพื้นผิวอย่างอื่น
ค. ร่มเงา แม้จระเข้ชอบใช้แสงแดดเป็นแหล่งพลังงานความร้อนแก่ร่างกาย แต่ถ้าความร้อนสูงเกินไป จระเข้ก็ต้องการที่หลบแดด โดยอาศัยร่มเงาซึ่งอาจเป็นต้นไม้, หลังคา หรือวัสดุกรองแสงต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นเงาให้เกิดความเย็นบนพื้นผิวที่จระเข้นอนด้วย
2. อาหารไม่เหมาะสม อาหารที่ให้ควรจะมีความสมดุลย์ในทุก ๆ อย่างทั้งปริมาณและคุณภาพ หากสองสิ่งนี้มีมากหรือน้อยเกินไป จะขาดความสมดุลย์ในสารอาหารและองค์ประกอบต่าง ๆ ทำให้เกิดปัญหาและโรคต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
2.1 โรคเก๊าท์ (gout) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบวนการใช้โปรตีนในร่างกาย ทำให้เกิดการสะสมของเกลือยูเรท (urate salt) และผลึกของกรดยูริก (uric acid crystal) ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย กล่าวอย่างง่าย ๆ ก็คือ โปรตีนจะถูกย่อยสลาย และผลิตผลขั้นสุดท้ายจะเป็นพวกกรดยูริค ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดโรคเก๊าท์ จระเข้ที่เป็นโรคเก๊าท์จะมองเห็นว่าข้อต่าง ๆ มีลักษณะบวมแดงแสดงอาหารซึม เบื่ออาหาร การเคลื่อนที่ช้าลงหรือไม่เคลื่อนไหวเลยเมื่อผ่าตามข้อที่บวมจะเห็นของเหลวข้นสีขาวคล้ายครีมเป็นจำนวนมากเหล่านี้ก็คือผลึกของกรดยูริคและเกลือยูเรทที่สะสมอยู่ ส่วนกรณีเก๊าท์ของอวัยวะภายใน จะทำให้เยื่อหุ้มหัวใจหนา มีสีขาวคล้ายผงชอล์กเกาะอยู่ และสามารถพบได้ที่ผิวตับ ม้าม และในไตจะมีจุดสีขาว ๆ อยู่ทั่วไป จระเข้ที่เป็นเก๊าท์ที่อวัยวะภายในมักตายโดยไม่แสดงอาหารให้เห็น
2.2 อาการขาดวิตามิน โรคหรืออาการที่เกิดจากการขาดวิตามินต่าง ๆ มีดังนี้
ก. ขาดวิตามินเอ มักเกิดจากจระเข้ที่ถูกเลี้ยงด้วยเนื้อแดงล้วน ๆ เป็นระยะเวลานาน ๆ ทั้งนี้เพราะเนื้อแดงปริมาณวิตามินเอไม่เพียงพอ จระเข้ที่ขาดวิตามินเอจะเจริญเติบโตช้า ผิวหนังหยาบกร้าน มีอาการบวมน้ำทั่วไปทั้งตัวจนดูคล้ายกับอ้วน เปลือกตาและเบ้าตาอักเสบออกมาโดยรอบ และมีน้ำตาไหล ตามลำตัวหากใช้นิ้วกดจะบุ๋มเป็นรอยกดลง มีการคืนตัวช้ากว่าปกติ อาจมีเม็ดต��่มเกิดขึ้นและเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราแทรกซ้อนได้ง่าย เนื่องจากภูมิคุ้มกันของร่างงกายลดต่ำลง การแก้ไข จะต้องให้อาหารชนิดอื่นสับเปลี่ยนกันไป เช่น เนื้อติดหนังและมัน เป็ดหรือไก่ทั้งตัว ฯลฯ ควรเสริมวิตามินเอลงในอาหารด้วยขนาด 4,850 หน่วยสากล ต่ออาหาร 1 กิโลกรัมต่อวัน
ข. ขาดวิตามินบี 1 การให้ปลาอย่างเดียว ปลาไม่สดหรือปลาเริ่มเน่า หรือวิธีให้อาหารอย่างไม่ถูกต้อง วางทิ้งตากแดดไว้ให้จระเข้มากิน จะก่อให้เกิดอาการขาดวิตามินบี 1 จระเข้จะแสดงอาการน้ำหนักลดลงทั้ง ๆ ที่กินอาหารได้ อาจจะมีอาการหัวใจขยายใหญ่ร่วมกับลำไส้อักเสบ บางครั้งอาจแสดงอาการชัก การแก้ไข ควรให้กินวิตามินนี้ในอาหารด้วยขนาด 4.4 ถึง 11 มิลลิกรัม รวมทั้งเปลี่ยนอาหารหรือเสริมอาหารชนิดอื่น พร้อมทั้งแก้ไขวิธีการให้อาหารด้วย
ค. ขาดวิตามินดี สาเหตุเกิดจากอาหารที่เลี้ยงขาดวิตามินดี หรือขาดการตากแดดเท่าที่ควร อาการขาดวิตามินดีจะมีผลต่อการใช้แคลเซียมในร่างกายสัตว์ อันจะทำให้เกิดอาการของกระดูกอ่อนตามมา ขาทั้งสี่มีรูปทรงผิดไป อาจโค้งเข้าหรือแบะออก ข้อขาโตขึ้น สัตว์จะแสดงอาการซึม เบื่ออาหาร ข้อขยายใหญ่ ผิวหนังนุ่ม การแก้ไขควรจัดสถานที่เลี้ยงให้ได้รับแสงแดดอย่างเพียงพอ พร้อมกับเสริมวิตามันดี 608 หน่วยสากล ต่ออาหารหนึ่งกิโลกรัมต่อวัน การให้วิตามินนี้มากเกินไปก็เกิดผลเสียได้เช่นกัน
ง. ขาดวิตามินอี โรคนี้มักมีความเกี่ยวข้องกับประเภทของอาหารที่ใช้เลี้ยงจระเข้ ส่วนใหญ่พบในจระเข้ที่เลี้ยงด้วยปลาอย่างเดียวโดยเฉพาะปลาแช่แข็ง เนื่องจากปลามีระดับทางกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวในปริมาณสูง และวิตามินอีในระดับต่ำ สัตว์จะแสดงอาการกล้ามเนื้อเหี่ยว ไม่กระฉับกระเฉง เซื่องซึม หมดแรง เบื่ออาหาร นอนอยู่กับที่ หรือตายในที่สุด จระเข้ที่เป็นโรค ไขมันแทบทุกส่วนที่พบและมองเห็นได้ตามร่างกายจะมีสีเหลืองเข้มแกมน้ำตาล แข็งตัวคล้ายสบู่เกือบทั้งตัว โดยเห็นเด่นชัดบริเวณส่วนหลัง สำตัว ส่วนหาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งไขมันใต้ผิวหนังและก้อนไขมันในช่องท้อง เมื่อใช้แสงอุลตร้าไวโอเลตส่องจะสามารถเรืองแสงได้ ซึ่งทำให้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคไขมันเหลือง (Yellow fatdisease) การป้องกันโรคนี้ อย่าให้จระเข้กินแต่ปลาอย่างเดียวติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ ควรให้อาหารโปรตีนจากสัตว์ชนิดอื่น ๆ สลับบ้าง เช่น ไก่และหมู ถ้าต้องการให้จระเข้กินปลาระยะเวลานาน ๆ ควรเสริมวิตามินอีในอาหารเข้าไปด้วยขนาด 15 - 100 หน่วยสากลต่อตัวต่อวัน ส่วนการรักษามักไม่ได้ผล ดังนั้นการป้องกันจึงนับได้ว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุด
จ. ขาด���ร่ธาตุ ปัญหาการขาดแร่ธาตุที่พบได้มากในจระเข้คือการขาดแคลเซียม อันเป็นการทำให้เกิดโรคกระดูกอ่อน สาเหตุก็เพราะกินอาหารที่มีอัตราส่วนแคลเซียมต่อฟอสฟอรัสไม่เหมาะสม เช่น เนื้อแดงล้วน ๆ และขาดวิตามินดี ทำให้ร่างกายนำแคลเซียมไปใช้ไม่ได้ อาการที่เด่นชัดมากคือ กระดูกบริเวณขากรรไกรล่างจะนิ่มผิดปกติขาโก่งงอ แนวกระดูกสันหลังบิดคดโก่ง กระดูกบาง หักง่าย เปลือกไข่บางและแตกง่าย การป้องกันสามารถทำได้โดยให้กินอาหารที่มีสัดส่วนของแคลเซียมต่อฟอสฟ���รัสเท่ากับ 1.2 ต่อ 1 ซึ่งอาจใช้เสริมในอาหาร แคลเซียมที่ใช้มักให้ในรูปแคลเซียมแลคเตท แต่ถ้าจระเข้นั้นอยู่ในระยะกำลังวางไข่หรือลูกจระเข้กำลังเจริญเติบโต ควรเพิ่มสัดส่วนแคลเซียมต่อฟอสฟอรัสขึ้นไปด้วย 2 ต่อ 1 ก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องไม่ลืมให้วิตามินดีด้วย เพื่อช่วยในการดูดซึมแคลเซียมไปใช้ ปกติเสริมขนาด 100 หน่วยสากล ต่อน้ำหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม อาทิตย์ละครั้ง
3. อาการแคระแกรน เกิดได้กับลูกจระเข้อายุ 6 - 8 อาทิตย์ ลูกจระเข้จะมีอาการเจริญเติบโตเมื่อดูจากน้ำหนักและความยาวลำตัวต่ำกว่าลูกจระเข้ตัวอื่น ๆ ที่เลี้ยงในรุ่นเดียวกัน ลูกจระเข้จะไม่กินอาหารเซื่องซึม ผอมลง มีบางตัวที่ยังกินอาหารตามปกติ แต่ขนาดคงเดิม สาเหตุของการแคระแกรนยังไม่เป็นที่แจ้งชัด แต่อาจพอสันนิษฐานได้ว่า เป็นผลสืบเนื่องมาจากพันธุกรรม ความผิดปกติแต่กำเนิด สภาพแวดล้อม อาหาร และเชื้อโรค ซึ่งมักมีความเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน การป้องกันโรคนี้ยังไม่ประสบผลสำเร็จนัก เท่าที่พอช่วยลูกจระเข้ได้โดยการป้อนอาหารสำเร็จรูปผ่านท่อลงไปยังกระเพาะอาหาร ส่วนผสมของอาหารได้แก่ ปลาบดละเอียดทั้งตัว 250 กรัม ผสมน้ำสะอาด 250 มิลลิลิตร และเติมวิตามินรวมชนิดเข้มข้น 1 มิลลิลิตร ป้อนอาหารเหลวนี้ด้วยขนาด 250 มิลลิลิตร ต่อน้ำหนักตัวจระเข้ 1 กิโลกรัม อาทิตย์ละ 2 วัน พร้อมทั้งฉีดยาวิตามินอีและซิลีเนียมให้เดือนละครั้ง
4. ความพิการแต่กำเนิด ลักษณะความพิการที่เป็นมาแต่กำเนิด เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ หลังคด หางด้วน ไข่แดงไม่เข้าท้อง ผนังหน้าท้องไม่ปิด ไม่มีลูกตา ฯลฯ เหล่านี้มักเกิดจากการจัดการไม่ดี มี 3 กรณีคือ
ก. พันธุกรรม หมายถึงการผสมพันธุ์ในสายเลือดชิด เช่น พ่อผสมลูก ลูกผสมแม่ ฯลฯ ไม่มีการจัดการเรื่องสายพันธุ์ที่แน่ชัดเนื่องจากปล่อยเลี้ยงบ่อรวมกันจำนวนมากทำให้ไม่สามารถควบคุมการผสมพันธุ์ได้ จึงเกิดปัญหาตามมา
ข. การจัดการฟักไข่ที่ไม่เหมาะสม ไม่ถูกวิธี ความชื้นไม่พอหรือความร้อนสูงเกินไป มีผลทำให้ไข่แดงไม่เข้าท้อง เกิดความพิการต่าง ๆ นานาได้เสมอ
ค. สารพิษบางชนิดตกค้างมากับอาหารที่ใช้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์จระเข้และถ่ายทอดมาถึงลูกทำให้เกิดความ��ิดปกติในการพัฒนาการของตัวอ่อน เช่น พิษของโลหะหนักต่าง ๆ พวก ปรอท สังกะสี และตะกั่ว ซึ่งบางครั้งก็ปนเปื้อนมากับน้ำที่ใช้เลี้ยงจระเข้ได้เช่นกัน
5. การบาดเจ็บกระทบกระเทือน จระเข้เป็นสัตว์ที่มีความต้องการดินแดนหรืออาณาเขตเป็นของตัวเอง โดยจะมีการปกป้องหวงแหนมากน้อยขึ้นอยู่กับพันธุ์ ฉะนั้นปัญหาการกัดกัน แก่งแย่งกันจึงมักเกิดขึ้นและรุนแรงถึงตายเสมอ ยิ่งถ้าเลี้ยงกันในที่คับแคบและมีประชากรหนาแน่นมากเกินไป ทางแก้ไข จะต้องให้มีสัดส่วนจำนวนจระเข้ต่อพื้นที่ ลักษณะบ่อ การตกแต่ง แบ่งสันปันส่วนในบ่อเลี้ยง ฯลฯ
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อ หรือโรคที่เกิดจากเชื้อโรค (infectious diseases) โดยเชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรคในจระเข้นั้นมีหลายชนิด ตั้งแต่ ไวรัส แบคทีเรีย พยาธิต่าง ๆ
1.โรคติดเชื้อไวรัส (Viral infection) ไวรัสที่พบว่าสามารถทำให้เกิดโรคในจระเข้เท่าที่พบในเมืองไทย คือ ไวรัสตับอักเสบ (viral hepatitis and enteritis) พบว่าเกิดในลูกจระเข้ที่ฟักออกมาไม่นานนัก ทำให้ป่วยหรือตายโดยไม่ทราบสาเหตุ อาการภายนอกมีจุดสีชมพูบนผิวตัว อาการภายในตับจะขยายใหญ่บวม สีซีดจาง ลำไส้บวม มีเลือดคั่งของเหลวในลำไส้สะสมเป็นจำนวนมาก พร้อมกับมีเลือดปน อุจจาระสีซีดเหลว โดยมากเป็นผนังลำไส้ที่ลอกหลุดปะปนออกมา การเกิดโรคนี้พบบ่อยครั้งในขณะที่มีอากาศเย็น ทั้งนี้ย่อมเป็นเหตุโน้มนำให้ภูมิต้านทานของร่างกายลูกจระเข้ลดลง เชื้อไวรัสจึงแพร่ระบาดได้ง่าย หลังจากนั้นหากมีการติดเชื้อจากแบคทีเรียแทรกซ้อน ก็จะทำให้อาการทรุดลงเร็วขึ้นและตายไป
การป้องกันจึงควรคำนึงถึงการรักษาอุณหภูมิให้เหมาะสมเสมอ เพื่อจระเข้จะได้มีภูมิคุ้มกันตลอดเวลา และหมั่นรักษาความสะอาด ทำการฆ่าเชื้อโรคอย่างสม่ำเสมอด้วยคลอรีน และผสมยาปฏิชีวนะลงในอาหาร เพื่อป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
2. โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย อาการเน้น ๆ ที่พบในจระเข้เลี้ยงในบ่อของเมืองไทยบ่อย ๆ มีดังนี้
ก. อาการติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสโลหิตแบบฉับพลัน (acute bacterial septicaemia) สาเหตุเกิดจากเชื้อแอโรโมนาส ไฮโดรฟิลล่า, เชื้อซาลโมเนลล่า เดอร์บี้ การติดเชื้อในลูกจระเข้มักติดโดยผ่านสายสะดือ ทำให้มีอาการจุดเลือดออกบนผิวหนัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามหน้าท้อง อาจมีอาการโคม่า ไม่รู้สึกตัวหรือตายภายใน 1 - 2 วัน
การป้องกันและรักษาโรคนี้ จะต้องแยกจระเข้ป่วยออกมารักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะตามผลการเพาะเชื้อ เพื่อเป็นการป้องกันการดื้อยาและยังทำให้การรักษาตรงตามเป้าหมาย ในขณะเดียวกันก็ควรรักษาความสะอาดและฆ่าเชื้อใน��่อเลี้ยง เพื่อลดการระบาด
ข. อาการตาอักเสบ (Ophthalmia) สาเหตุเกิดจากเชื้อซูโดโมนาส แอรูจิโรซ่า สเตรปโตคอคคัส โดยมีสาเหตุโน้มนำจากการขาดวิตามินเอ ความสกปรกของสถานที่เลี้ยงและ ความแออัด อาการของโรคมักพบว่า เกิดแพร่กระจายในลูกจระเข้ที่เกิดใหม่และอายุไม่เกินหนึ่งปีเป็นส่วนใหญ่ โดยมีน้ำตาและน้ำเหลืองไหลออกมาตลอดเวลาก่อน จากนั้นของเหลวจะจับกับเปลือกตา ทำให้จระเข้ไม่สามารถลืมตาได้ จำต้องหลับตาทั้งสองข้างตลอดเวลา จนในที่สุดมีแคลเซียมเข้าไปสะสมอยู่ ทำให้เกิดการอักเสบของหนังตาที่กระจกตา แล้วกระจายไปทั่วลูกตา ทำให้มองเห็นว่าจระเข้มีตาบวมปูดออกมาทั้งสองข้าง บ่อยครั้งที่พบว่าหนังตามีรอยแตกแขนงแล้วมีการติดเชื้อ เกิดผิวหนังอักเสบตามมาอีกด้วย ซึ่งบางคราวจะลามไปถึงหัว ลูกจระเข้ที่ป่วยไม่กินอาหารและไม่ลงน้ำ ทำให้แสดงอาการขาดน้ำ ขาดอาหาร ผอม และอาจมีการติดเชื้อแทรกซ้อนในระบบอื่น ทำให้ตายในที่สุด
การป้องกันและรักษา จะต้องแยกตัวป่วยออกมารักษา ล้างตาด้วยน้ำยาบอริค ป้ายตาด้วยยาคลอแรมเฟฟิคอลเข้าน้ำมัน และฉีดคลอแรม 25 % ขนาด 10 มิลลิกรัม เข้าใต้ผิวหนังเปลือกตา ส่วนสถานที่เลี้ยงต้องหมั่นเปลี่ยนน้ำให้สะอาด และอาหารต้องไม่ขาดวิตามินเอ
ค. อาการปอดบวม (Pneumonitis) มีสาเหตุจากเชื้อซูโดโมนาส, อี.โคไล, โปรเตียส ทำให้จระเข้มีอาการอ้าปากหายใจ ซึม เบื่อจนไม่กินอาหาร นอนผึ่งแดดตลอดเวลา และตายโดยไม่แสดงอาการเด่นชัด การป้องกันและรักษา ใช้หลักการเดียวกับการรักษาการติดเชื้อในการแสโลหิตแบบเฉียบพลัน ในกรณีของลูกจระเข้อาจเพิ่มอุณหภูมิภายนอกให้สูงขึ้นอีก 2 - 3 องศาเซลเซียส เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายเพิ่มขึ้น ยาที่ใช้ควรใช้วิธีฉีดจะได้ผลรวดเร็วและสะดวกกว่าวิธีอื่น แต่ต้องทำอย่างนุ่มนวล เพื่อไม่ให้สัตว์เกิดความเครียด
3. การติดเชื้อรา การเลี้ยงจระเข้ถ้าขาดการจัดการที่ดี สภาพบ่อสกปรก จะเป็นที่หมักหมมของเชื้อรา ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามร่างกายของจระเข้ได้ ที่พบว่ามีปัญหาบ้างคือ โรคผิวหนังอักเสบเนื่องจากเชื้อรา หรือการติดเชื้อราจากผิวหนัง (Mycotic Bermatitis) ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อ ฟิวซาเรียม (Fusarium) ทำให้จระเข้แสดงอาการเกิดจุดขาวบนผิวหนังโดยทั่วไป หากทิ้งไว้จะขยายใหญ่ เปลี่ยนสภาพเป็นแผลหลุดปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อที่ตายแล้วสีน้ำตาล บางครั้งอาจพบฝ้าขาวบนลิ้นหรือเพดานช่องปาก ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อตัวอื่น เช่น แอสเปอร์จิลลัส ได้
การรักษา อาจให้ยากินจำพวกนิสตาติน หรือคีโตโคนาโซล ร่วมกับการทายาฆ่าเชื้อราบนผิวหนัง เช่น มิโคนาโซล และอาบน้ำที่มีด่างทับทิมในอัตรา 10 ล้านส่วนในน้ำ 1 ล้านส่วน (10 ppm)
4. การติดเชื้อพยาธิ
ก. พยาธิภายใน (Internal parasite) ที่พบในจระเข้ตามฟาร์มเลี้ยงในประเทศไทย คือ พยาธิในปอด มีชื่อว่า เพ็นตาสโตมิดา (Pemtastomida) โดยจะพบตัวแก่อยู่ในปอดหรือทางเดินหายใจบริเวณอื่น ๆ ไข่พยาธิชนิดนี้จะอยู่ในน้ำลายหรืออุจราระของแมลง หรือพวกหนู จะเป็นตัวนำโรคนี้ไปสู่จระเข้ตัวอื่น ๆ ทำให้จระเข้อ่อนแอลง เพราะพยาธิดูดเลือดจากเส้นเลือดฝอยของปอด มีพยาธิบางส่วนไชชอนไปมาทำให้เลือดออกมากขึ้น และเกิดติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน อาการที่แสดงออกของจระเข้อาจไม่เด่นชัด อาจสังเกตเห็นเพียงแต่จระเข้ที่มีพยาธิผอมลงทุกวัน แล้วตายไปเอง เมื่อผ่าซากจึงพบตัวพยาธิดังกล่าว มีลำตัวสีขาวเป็นปล้อง ๆ อยู่ในปอด
การป้องกันและรักษา ทำได้โดยใช้ยากำจัดพยาธิชนิดฉีดคือ ไอโวเม็คติน (ivomectin) ฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือกล้ามเนื้อด้วยขนาด 200 ไมโครกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมครั้งเดียว และหมั่นตรวจอุจจาระจระเข้อย่างน้อยเดือนละครั้ง ยาที่ให้ผลในการรักษาอีกอย่างคือ ซัลฟาคลอโรไพราซีล 30 % ผสมคลุกเคล้าในอาหาร ด้วยขนาดยา 1.5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม กินติดต่อกัน 3 วัน หรือทำเป็นสารละลาย 3 % ป้อนผ่านท่อกระเพาะจระเข้ด้วยขนาด 5 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมวันละครั้งติดต่อกัน 3 วัน
ข. พยาธิภายนอก (External parasites) พยาธิภายนอกที่สำคัญกับจระเข้มีเพียงตัวเดียวเท่านั้นคือ ปลิงควาย โดยอาศัยอยู่ในปากของจระเข้ โดยดูดเลือดจากเหงือก ลิ้น ซอกฟัน เพดาน แต่ดูเหมือนว่าจะไม่ทำให้เกิดอันตรายจากจระเข้ใหญ่ ๆ มากนัก ตามธรรมชาติแล้วนกเอี้ยงหรือนกกินแมลงบางชนิดมักเป็นผู้ช่วยกำจัดปลิงควายเหล่านี้ในขณะที่จระเข้นอนอ้าปากผึ่งแดด ส่วนการกำจัดปลิงควายที่มีในจระเข้เลี้ยง สามารถกระทำได้โดยใช้ปูนขาวละลายน้ำในบ่อจระเข้ ซึ่งนับเป็นวิธีง่าย ถูก และได้ผลดีที่สุด
0 notes
Link
0 notes
Text
โรคไต
กินเค็มระวังเป็น โรคไต ประโยคนี้หลายคนมักใช้เตือนคนที่ชอบรับประทานอาหารรสเค็ม แต่โรคไตไม่ได้เข้าโจมตีแต่ผู้ที่ทานรสเค็มเพียงอย่างเดียวเสียแล้ว เพราะโรคนี้สามารถเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ igoal ที่มาจากการใช้ชีวิตประจำวันของเราเองซึ่งส่งผลให้เราเป็นโรคร้ายนี้ได้ด้วยเช่นกัน ดังนั้นเรามาทำความรู้จักโรคนี้กันให้มากขึ้นดีกว่า
ทำความรู้จักโรคไต
อย่างที่เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าไตมีหน้าที่กำจัดของเสีย ควบคุมความเป็นกรด-ด่างในกระแสเลือด ควบคุมความสมดุลของเกลือแร่ igoal88 และควบคุมปริมาณน้ำในร่างกายอีกด้วย ดังนั้นเมื่อไตทำงานผิดปกติ หรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ จะทำให้เกิดภาวะเลือดจางและขาดวิตามินได้ โดยโรคร้ายนี้มีอยู่หลายชนิด และที่พบได้บ่อย ได้แก่ กรวยไตอักเสบ ไตอักเสบ นิ่วในไต ไตเรื้อรัง และไตวาย
โรคไต ชื่อคุ้นหูแต่สาเหตุไม่คุ้นตา
โรคนี้อาจมีความเข้าใจผิด ๆ ว่าเลี่ยงทานเค็มเท่ากับเลี่ยงโรคไต ทั้งนี้ในความเป็นจริงแล้วยังมีสาเหตุต่าง ๆ อีกมากมาย คาสิโนออนไลน์ โดยสาเหตุของการเกิดโรคนี้ ได้แก่
จากพันธุกรรม โดยอาจเป็นมาตั้งแต่กำเนิดหรือค่อย ๆ แสดงอาการในภา��หลังก็ได้
เกิดจากโรคอื่นที่มีผลกระทบกับไต เช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
การทานอาหารรสจัดไม่ใช่เพียงแค่รสเค็ม รวมไปถึงหวานจัด หรือเผ็ดจัดด้วยเช่นกัน
ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ไม่ออกกำลังกาย
มีความเครียด
โซเดียมสูงเสี่ยงไต
โ��เดียม คือเกลือแร่ชนิดหนึ่งที่มีเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย แต่หากรับประทานเข้าไปในปริมาณมากอาจจะทำให้เป็นสาเหตุของการเกิดโรคไต เพราะปริมาณโซเดียมที่มากจะทำให้ไตไม่สามารถขับโซเดียมออกไปได้จนเกิดการสะสมไว้ในเลือด เมื่อมีโซเดียมมากไตก็จะยิ่งทำงานหนักผลที่ตามมาคือ ในหน่วยไตจะเกิดความดันสูงขึ้นจนเกิดการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะและนำพาไปสู่ภาวะไตเสื่อมในที่สุด พูดมาถึงจุดนี้หลายคนอาจจะพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโซเดียมสูงจำพวกน้ำปลา และเกลือ แต่ในความเป็นจริงแล้วโซเดียมยังอยู่ในอาหารอีกหลายรูปแบบ ได้แก่
เครื่องปรุงรส เช่น ซอสพริก ซอสมะเขือเทศ น้ำจิ้มสุกี้
อาหารแปรรูป เช่น เบคอน แฮม ผักกาดดอง ผลไม้กระป๋อง และไข่เค็ม
อาหารกึ่งสำเร็จรูป
อาการของโรคไต
เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่ไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองให้กลับมาสมบูรณ์ได้ การเกิดความผิดปกติกับไตจึงเป็นเรื่องอันตราย โดยในช่วงแรกผู้ป่วยโรคไตแทบจะไม่มีสัญญาณของโรคร้ายนี้เลย แต่อาการจะปรากฏออกมาในระยะท้าย ๆ ที่ไตได้รับความเสียหายไปมากแล้ว จนในระดับสูงสุดอาจเกิดอาการไตวาย และเสียชีวิตได้ อาการของผู้ป่วยโรคไตที่ปรากฏมีดังนี้
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ปัสสาวะผิดปกติ เช่น มีกลิ่นผิดปกติ มีสีผิดปกติ เป็นต้น
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการเบื่ออาหาร
ตัวบวมเนื่องจากมีน้ำและเกลือในร่างกายปริมาณมาก
ปวดหลัง ปวดบั้นเอว
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไต
มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดัน โรคเก๊าท์ เป็นต้น
มีมวลไตลดลง
มีความดันโลหิตสูง
คนในครอบครัวมีประวัติการเป็นโรคไต
อายุมากกว่า 60 ปี
การรักษาโรคไต
รักษาตามอาการ เช่น การรับประทานยา และควบคุมความดันโลหิตให้เหมาะสม ลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงยาบางประเภท
รักษาด้วยวิธีการบำบัดทดแทนไต ใช้รักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเพื่อช่วยขจัดของเสียทดแทนไตที่เสียไป สามารถทำได้ 3 วิธี ดังนี้
การฟอดเลือด เพื่อทำให้เลือดสะอาดโดยใช้ระยะเวลา 4-5 ชั่วโมง 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การฟอกไตผ่านทางช่องท้อง อาศัยช่องท้องในการฟอกเลือด โดยจะฟอกวันละ 4 รอบ
การปลูกถ่ายไต โดยการนำไตจากผู้บริจาคใส่เชิงกรานของผู้รับไต
การจัดการโภชนาการอาหารในแต่ละวันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากโรคภั��มาเบียดเบียน และสิ่งที่สำคัญไม่แพ้การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ คื อการตรวจสุขภาพไตอย่างสม่ำเสมอเพื่อรู้เท่าทันโรคไตที่อาจเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัวนั่นเอง
0 notes
Text
ไวอากร้าถั่งเช่าสมุนไพร
ตั้งแต่เล็กจนโตผมอยู่ในครอบครัวที่ใช้สมุนไพรในการรักษาโรคต่างๆไม่ว่าจะเป็นไข้หวัดโรคกระเพาะอาหารท้องเสีย ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเก๊าท์ รวมถึงโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศด้วยโลกทั้งหมดนี้ถูกรักษาด้วยสมุนไพรยาอึดโดยคุณพ่อของผมจะใช้ถั่งเช่าเป็นส่วนผสมหลักในการนำมารักษาโรคต่างๆเหล่านี้คุณพ่อของผมเป็นหมอแผนโบราณนะครับคือ ท่านมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรต่างๆที่นำมารักษาโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเช่าท่านจะมีความชำนาญมากที่นำทางเข้ามารักษาโรคให้กับเพื่อนบ้านหรือผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาด้วยโรคต่างๆคุณพ่อของผมมีชื่อเสียงโด่งดังอันเนื่องมาจากการนำอาหารเสริมผู้ชายถั่งเช่านำมารักษาโรคของผู้ป่วยที่หย่อนสมรรถภาพทางเพศทั้งในผู้ชายและในผู้หญิง คุณพ่อของผมเป็นที่กล่าวถึงและเป็นที่บอกต่อกันสำหรับชาวบ้านไม่ว่าจะอยู่ในระยะทางที่ใกล้หรือในระยะทางที่ห่างไกลใครที่มีปัญหาเรื่องหย่อนสมรรถภาพทางเพศก็มักจะมาหาคุณพ่อของผมและเข้ารับการรักษาด้วยถั่งเช่า เวลามีผู้ป่วยมาผมก็จะเป็นคนที่คอยต้อนรับผู้ป่วยเหล่านั้นซึ่งผมรักในอาชีพนี้มากผมรู้สึกมีความสุขทุกครั้งที่มีผู้ป่วยมาหาพ่อของผมเพราะนั่นหมายความว่าเขามีเปอร์เซ็นที่จะหายป่วยจากโรคต่างๆที่เขาเป็นอยู่เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ถึงแม้ว่าพ่อของผมจะทำงานหนักแต่ท่านก็ไม่เคยที่จะเหน็ดเหนื่อยดูแล้วท่านจะมีความสุขเสียมากกว่าที่ช่วยเพื่อนมนุษย์ให้หายจากการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ตอนผมยังเด็กคุณพ่อก็พยายามฝึกฝนและบอกสูตรยาให้แก่ผมโดยท่านบอกว่ายาชะลอการหลั่งทุกๆสูตรนั้นจะมีส่วนผสมของถั่งเช่าเป็นส่วนผสมหลักเพราะทางเช่านั้นเป็นพืชสมุนไพรที่ดีที่สุดในการรักษาโรคต่างๆเป็นยาพืชสมุนไพร 108 หรือชาวบ้านเรียกว่าว่านร้อยแปดนั่นเอง คำว่าว่าน 108 นั้นมาจากสมุนไพรถั่งเช่านั้นสามารถรักษาได้โรคได้มากกว่า 108 โรคนั่นเองครับ พอมาถึงทุกปัจจุบันนี้คุณพ่อของผมได้ลาโลกนี้ไปแล้วครับท่านเสียชีวิตไปประมาณ 5 ปีที่แล้วผมก็เป็นทายาทคนสุดท้ายที่รับมรดกวิธีการรักษาโรคต่างๆโดยทางเช่าต่อจากคุณพ่อผมรู้สึกภาคภูมิใจมากที่ผมเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยเพื่อนมนุษย์ในการรักษาโรคด้วยสมุนไพรถั่งเช่านี้ใครที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคต่างๆโดยเฉพาะโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศเข้ามาปรึกษาหรือเข้ามารักษากับผมได้นะครับ
ไวอากร้า
0 notes
Text
โรคไต เกิดจากอะไร
กินเค็มระวังเป็น โรคไต สล็อตออนไลน์ ประโยคนี้หลายคนมักใช้เตือนคนที่ชอบรับประทานอาหารรสเค็มแต่ โรคไต ไม่ได้เข้าโจมตีแต่ผู้ที่ทานรสเค็มเพียงอย่างเดียวเสียแล้ว เพราะโรคนี้สามารถเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ที่มาจากการใช้ชีวิตประจำวันของเราเองซึ่งส่งผลให้เราเป็นโรคร้ายนี้ได้ด้วยเช่นกัน ดังนั้นเรามาทำความรู้จักโรคนี้กันให้มากขึ้นดีกว่า
ทำความรู้จักโรคไต
อย่างที่เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าไตมีหน้าที่กำจัดของเสีย ควบคุมความเป็นกรด-ด่างในกระแสเลือด เกมสล็อต ควบคุมความสมดุลของเกลือแร่ และควบคุมปริมาณน้ำในร่างกายอีกด้วย ดังนั้นเมื่อไตทำงานผิดปกติ หรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ จะทำให้เกิดภาวะเลือดจางและขาดวิตามินได้ โดยโรคร้ายนี้มีอยู่หลายชนิด และที่พบได้บ่อย ได้แก่ กรวยไตอักเสบ ไตอักเสบ นิ่วในไต ไตเรื้อรัง และไตวาย
โรคไต ชื่อคุ้นหูแต่สาเหตุไม่คุ้นตา
โรคนี้อาจมีความเข้าใจผิด ๆ ว่าเลี่ยงทานเค็มเท่ากับเลี่ยงโรคไต ทั้งนี้ในความเป็นจริงแล้วยังมีสาเหตุต่าง ๆ กีฬาออนไลน์ อีกมากมาย โดยสาเหตุของการเกิดโรคนี้ ได้แก่
จากพันธุกรรม โดยอาจเป็นมาตั้งแต่กำเนิดหรือค่อย ๆ แสดงอาการในภายหลังก็ได้เกิดจากโรคอื่นที่มีผลกระทบกับไต เช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น การทานอาหารรสจัดไม่ใช่เพียงแค่รสเค็ม รวมไปถึงหวานจัด หรือเผ็ดจัดด้วยเช่นกัน ดื่มน้ำน้อยเกินไป ไม่ออกกำลังกาย มีความเครียด โซเดียมสูงเสี่ยงไต
โซเดียม คือเกลือแร่ชนิดหนึ่งที่มีเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย แต่หากรับประทานเข้าไปในปริมาณมากอาจจะทำให้เป็นสาเหตุของการเกิดโรคไต เพราะปริมาณโซเดียมที่มากจะทำให้ไตไม่สามารถขับโซเดียมออกไปได้จนเกิดการสะสมไว้ในเลือด เมื่อมีโซเดียมมากไตก็จะยิ่งทำงานหนักผลที่ตามมาคือ ในหน่วยไตจะเกิดความดันสูงขึ้นจนเกิดการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะและนำพาไปสู่ภาวะไตเสื่อมในที่สุด พูดมาถึงจุดนี้หลายคนอาจจะพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโซเดียมสูงจำพวกน้ำปลา และเกลือ แต่ในความเป็นจริงแล้วโซเดียมยังอยู่ในอาหารอีกหลายรูปแบบ ได้แก่
เครื่องปรุงรส เช่น ซอสพริก ซอสมะเขือเทศ น้ำจิ้มสุกี้
อาหารแปรรูป เช่น เบคอน แฮม ผักกาดดอง ผลไม้กระป๋อง และไข่เค็ม
อาหารกึ่งสำเร็จรูป
อาการของโรคไต
เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่ไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองให้กลับมาสมบูรณ์ได้ การเกิดความผิดปกติกับไตจึงเป็นเรื่องอันตราย โดยในช่วงแรกผู้ป่วยโรคไตแทบจะไม่มีสัญญาณของโรคร้ายนี้เลย แต่อาการจะปรากฏออกมาในระยะท้าย ๆ ที่ไตได้รับความเสียหายไปมากแล้ว จนในระดับสูงสุดอาจเกิดอาการไตวาย และเสียชีวิตได้ อาการของผู้ป่วยโรคไตที่ปรากฏมีดังนี้
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ปัสสาวะผิดปกติ เช่น มีกลิ่นผิดปกติ มีสีผิดปกติ เป็นต้น
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการเบื่ออาหาร
ตัวบวมเนื่องจากมีน้ำและเกลือในร่างกายปริมาณมาก
ปวดหลังปวดบั้นเอว
ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไต
มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดัน โรคเก๊าท์ เป็นต้น
มีมวลไตลดลง
มีความดันโลหิตสูง
คนในครอบครัวมีประวัติการเป็นโรคไต
อายุมากกว่า 60 ปี
การรักษาโรคไต
รักษาตามอาการ เช่น การรับประทานยา และควบคุมความดันโลหิตให้เหมาะสม ลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงยาบางประเภท
รักษาด้วยวิธีการบำบัดทดแทนไต ใช้รักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเพื่อช่วยขจัดของเสียทดแทนไตที่เสียไป สามารถทำได้ 3 วิธี ดังนี้
- การฟอดเลือด เพื่อทำให้เลือดสะอาดโดยใช้ระยะเวลา 4-5 ชั่วโมง 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
- การฟอกไตผ่านทางช่องท้อง อาศัยช่องท้องในการฟอกเลือด โดยจะฟอกวันละ 4 รอบ
- การปลูกถ่ายไต โดยการนำไตจากผู้บริจาคใส่เชิงกรานของผู้รับไต
การจัดการโภชนาการอาหารในแต่ละวันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยมาเบียดเบียน และสิ่งที่สำคัญไม่แพ้การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ คื อการตรวจสุขภาพไตอย่างสม่ำเสมอเพื่อรู้เท่าทันโรคไตที่อาจเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัวนั่นเอง
0 notes