#อาการแพนิค
Explore tagged Tumblr posts
worakonigoal2 · 2 years ago
Text
โรคแพนิค คืออะไร
โรคแพนิค หรือโรคตื่นตระหนกนั้นเป็นโรควิตกกังวลประเภทหนึ่งที่เกิดจากระบบประสาทอัตโนมัติที่ทำงานผิดปกติโดยระบบประสาทนี้เป็นระบบที่ควบคุมการทำงานของร่างกายหลายส่วนจึงทำให้เกิดอาการหลายอย่างร่วมกันเช่น หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก igoal ท้องไส้ปั่นป่วน วิงเวียน ซึ่งอาการจะเกิดขึ้นแบบฉับพลันแม้ไม่มีสาเหตุหรือมีเรื่องให้ต้องตกใจ ผู้ป่วยจะมีความรู้สึกกลัวตื่นตระหนกเป็นอย่างมากไม่กล้าออกไปไหนหมกมุ่นเรื่องสุขภาพจนส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันมาดูกันเลย
โรคแพนิค ไม่อันตรายแต่ควรรักษา
โรคแพนิคสามารถรักษาได้ด้วยการรับประทานยาเพื่อปรับสมดุลของสารเคมีในสมองที่ผิดปกติหรือการตรวจเลือดหาสาเหตุที่เกิดทางด้านร่างกาย เพื่อการรักษาที่ได้ผลดีนั้นจะต้องมีการรักษาทางจิตใจควบคู่ไปด้วย ปรับแนวคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วยรวมถึงคนรอบข้าง igoal88 คนใกล้ชิด ควรทำความเข้าใจกับโรคนี้และให้กำลังใจผู้ป่วยการฝึกการหายใจเพื่อควบคุมสติ เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่สามารถช่วยลดความเครียด ความวิตกกังวล
ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยสามารถทำได้ด้วยตนเองนอกจากนี้ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ผ่อนคลายจากความเครียดรับประทานพักผ่อนให้เพียงพอและเป็นเวลา ทางเข้า igoal88 อาจหลีกเลี่ยงการใช้ชีวิตประจำวันด้วยความเร่งรีบ รวมทั้งการใช้เวลาอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือมากเกินไปแม้ว่าโรคนี้จะไม่รุนแรงหรือเป็นอันตรายถึงชีวิตแต่อาการของโรคอาจไปสัมพันธ์คล้ายคลึงกับปัญหาสุขภาพร้ายแรง อื่นๆเช่น โรคความดันโลหิตสูงโรคระบบหลอดเลือดหัวใจและหัวใจวายเฉียบพลันดังนั้น หากสงสัยว่ามีอาการของโรคแพนิค ควรไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจวินิจฉัยอย่างละเอียด
โรคแพนิคอาการเป็นอย่างไร
- ใจสั่น แน่นหน้าอก
- หัวใจเต้นแรง 
- หายใจหอบ หายใจถี่
- เหงื่อออกมาก เหงื่อแตก
- ตัวสั่น
- ปั่นป่วนในท้อง
- วิงเวียน คล้ายจะเป็นลม
- หวาดกลัว รู้สึกกลัวไปหมดทุกอย่าง 
- มือสั่น เท้าสั่น
- ตัวชา ควบคุมตัวเองไม่ได้
อาการแพนิคจะเกิดที่ไหนเมื่อไรก็ได้และคาดเดาได้ยากโดยขณะเกิดอาการผู้ป่วยมักกลัวและรีบไปโรงพยาบาลซึ่งแพทย์ที่ห้องฉุกเฉินมักตรวจไม่พบความผิดปกติ และมักได้รับการสรุปว่าเป็นอาการเครียดหรือคิดมาก ซึ่งผู้ป่วยก็มักยอมรับไม่ได้และปฏิเสธว่าไม่ได้เครียด
ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดโรคแพนิค
กรรมพันธุ์ คนที่มีญาติหรือประวัติครอบครัวเป็นโรคแพนิค มีแนวโน้มเป็นได้มากกว่าคนทั่วไป
การใช้สารเสพติด
ความผิดปกติของฮอร์โมน อาจทำให้สารเตมีในสมองเสียสมดุลได้
มีประสบการณ์ เคยผ่านเหตุการณ์เลวร้ายในชีวิต
พฤติกรรมต่างๆ ที่เป็นตัวกระตุ้น เช่น ทำงานกับคอมพิวเตอร์และมือถือนานๆ เผชิญความกดดัน อยู่ในสภาวะที่เร่งรีบ เครียดวิตกกังวล ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย
เครียดสะสม เกิดจากการใช้ชีวิตอย่างจริงจัง เคร่งเครียด อยู่ในสภาวะกดดันเป็นประจำ
เริ่มต้นดูแลตัวเองแบบง่ายๆ ด้วยการงดพฤติกรรมเหล่านี้
- การใช้ชีวิตประจำวันด้วยความเร่งรีบ
- กินนอนไม่เพียงพอและไม่เป็นเวลา
- ใช้เวลาอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือมากเกินไป
0 notes
digitalmore · 2 years ago
Text
อาการแพนิค (Panic disorder) คืออะไร
อาการแพนิค (Panic disorder) เป็นอาการที่ตัวเองรู้สึกกลัวหรือตื่นกลัวอย่างรุนแรง โดยมักเกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิด และไม่มีสาเหตุที่ชัดเจน เช่น อาจเกิดขึ้นในขณะที่เดินเข้าไปในร้านค้าหรืออยู่ในสถานที่แออัด แ… อ่านเพิ่ม from BangkokStyle https://ift.tt/2rbnZjO
0 notes
digitalmore · 2 years ago
Text
0 notes
digitalmore · 2 years ago
Text
0 notes
worakonigoal2 · 2 years ago
Text
โรคแพนิค
โรคแพนิค (Panic Disorder) หรือโรคตื่นตระหนก เป็นโรควิตกกังวลประเภทหนึ่งที่เกิดจากระบบประสาทอัตโนมัติ (Automatic Nervous System) ทำงานผิดปกติ โดยระบบประสาทนี้เป็นระบบที่ควบคุมการทำงานของร่างกายหลายส่วน จึงทำให้เกิดอาการหลายอย่างร่วมกัน igoal เช่น หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก ท้องไส้ปั่นป่วน วิงเวียน ซึ่งอาการจะเกิดขึ้นแบบฉับพลันแม้ไม่มีสาเหตุหรือมีเรื่องให้ต้องตกใจ ผู้ป่วยจะมีความรู้สึกกลัว ตื่นตระหนกเป็นอย่างมาก ไม่กล้าออกไปไหน หมกมุ่นเรื่องสุขภาพ จนส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
โรคแพนิค อาการเป็นอย่างไร?
- ใจสั่น แน่นหน้าอก
- หัวใจเต้นแรง 
- หายใจหอบ หายใจถี่
- เหงื่อออกมาก เหงื่อแตก
- ตัวสั่น
- ปั่นป่วนในท้อง
- วิงเวียน คล้ายจะเป็นลม
- หวาดกลัว รู้สึกกลัวไปหมดทุกอย่าง 
- มือสั่น เท้าสั่น
- ตัวชา ควบคุมตัวเองไม่ได้
อาการแพนิค จะเกิดที่ไหนเมื่อไรก็ได้ igoal88 และคาดเดาได้ยาก โดยขณะเกิดอาการผู้ป่วยมักกลัวและรีบไปโรงพยาบาล ซึ่งแพทย์ที่ห้องฉุกเฉินมักตรวจไม่พบความผิดปกติ และมักได้รับการสรุปว่าเป็นอาการเครียดหรือคิดมาก ซึ่งผู้ป่วยก็มักยอมรับไม่ได้และปฏิเสธว่าไม่ได้เครียด
ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดโรคแพนิค
อาจเกิดจากสมองส่วนควบคุมความกลัวที่เรียกว่า “อะมิกดาลา” (Amygdala) ทำงานผิดปกติ
กรรมพันธุ์ คนที่มีญาติหรือประวัติครอบครัวเป็นโรคแพนิค มีแนวโน้มเป็นได้มากกว่าคนทั่วไป
การใช้สารเสพติด
ความผิดปกติของฮอร์โมน อาจทำให้สารเตมีในสมองเสียสมดุลได้
มีประสบการณ์ เคยผ่านเหตุการณ์เลวร้ายในชีวิต
พฤติกรรมต่างๆ ที่เป็นตัวกระตุ้น เช่น ทำงานกับคอมพิวเตอร์และมือถือนานๆ เผชิญความกดดัน อยู่ในสภาวะที่เร่งรีบ เครียดวิตกกังวล ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนน้อย
เครียดสะสม เกิดจากการใช้ชีวิตอย่างจริงจัง สล็อตออนไลน์ เคร่งเครียด อยู่ในสภาวะกดดันเป็นประจำ
โรคแพนิค ไม่อันตรายแต่ควรรักษา
โรคแพนิคสามารถรักษาได้ด้วยการรับประทานยาเพื่อปรับสมดุลของสารเคมีในสมองที่ผิดปกติ หรือ การตรวจเลือดหาสาเหตุที่เกิดทางด้านร่างกาย เพื่อการรักษาที่ได้ผลดีนั้นจะต้องมีการรักษาทางจิตใจควบคู่ไปด้วย ปรับแนวคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วย รวมถึงคนรอบข้าง คนใกล้ชิด ควรทำความเข้าใจกับโรคนี้และให้กำลังใจผู้ป่วย
การฝึกการหายใจเพื่อควบคุมสติ เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่สามารถช่วยลดความเครียด ความวิตกกังวล ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยสามารถทำได้ด้วยตนเอง  นอกจากนี้ ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ผ่อนคลายจากความเครียด รับประทาน พักผ่อนให้เพียงพอและเป็นเวลา อาจหลีกเลี่ยงการใช้ชีวิตประจำวันด้วยความเร่งรีบ รวมทั้งการใช้เวลาอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือมากเกินไป
แม้ว่าโรคนี้จะไม่รุนแรง หรือเป็นอันตรายถึงชีวิต แต่อาการของโรคอาจไปสัมพันธ์คล้ายคลึงกับปัญหาสุขภาพร้ายแรง อื่นๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคระบบหลอดเลือดหัวใจ และหัวใจวายเฉียบพลัน ดังนั้น หากสงสัยว่ามีอาการของโรคแพนิค ควรไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจวินิจฉัยอย่างละเอียด
เริ่มต้นดูแลตัวเองแบบง่ายๆ ด้วยการงดพฤติกรรมเหล่านี้
- การใช้ชีวิตประจำวันด้วยความเร่งรีบ
- กินนอนไม่เพียงพอและไม่เป็นเวลา
- ใช้เวลาอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือมากเกินไป
0 notes