#วัดหนองบัว
Explore tagged Tumblr posts
Text
#พระพุทธศรีประทายสมันต์ เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่คู่ #วัดหนองบัว#จังหวัดสุรินทร์
ข้าวฮอร์ Hor.Boutique ข้าวอินทรีย์สุรินทร์
(ข้าวอินทรีย์สุรินทร์ #มาตร��านออร์แกนิคไทยแลนด์#OrganicThailand, #ข้าวพันธุ์แท้ และ #SurinBest#ของดีเมืองสุรินทร์)
1.ข้าวหอมมะลิสุรินทร์
2.ข้าวกล้องหอมมะลิสุรินทร์
3.ข้าวปกาอำปึลอินทรีย์ (ข้าวพื้นเมืองสุรินทร์)
4.ข้าวผสมห้าสายพันธุ์อินทรีย์
5.ข้าวกล้องมะลิแดงอินทรีย์
6.ข้าวมะลินิลอินทรีย์สุรินทร์
7. ข้าวกล้องไรซ์เบอรี่
------------------------------------------
ข้าวฮอร์ Hor.Boutique ข้าวอินทรีย์สุรินทร์
ที่ตั้ง 277 หมู่ 14 ถ.พิชิตชัย ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000
โทร. 092-8245655
Website : https://www.hor.boutique/
Facebook : https://www.facebook.com/Hor.Boutique.Brand
Twitter : https://twitter.com/hor_boutique
IG : https://www.instagram.com/hor.boutique/
Tiktok : https://www.tiktok.com/@hor.boutique
Youtube : https://www.youtube.com/@horboutique
SalesPage : https://sites.google.com/view/surinrice
---------------------------------------------------
ส่งข้อความหาเรา
Line: @Hor.Boutique
Inbox : www.m.me/Hor.Boutique.Brand
---------------------------------------------------
ข้าว Hor ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ พร้อมขายแล้วที่
Website : www.hor.boutique
Shopee : https://shopee.co.th/hor.boutique
Lazada : https://www.lazada.co.th/shop/horboutique/
ไปรษณีย์ : https://www.thailandpostmart.com/shop/horboutique
#ข้าวอินทรีย์, #ข้าวหอมสุรินทร์, #ข้าวหอมมะลิ, #ข้าวกล้องหอมมะลิ, #ข้าวสุรินทร์, #ข้าวหอมมะลิสุรินทร์, #ข้าวเพื่อสุขภาพ, #ข้าวสุขภาพ, #ข้าวปลอดสาร, #ข้าวเกษตรอินทรีย์, #ข้าวปลอดสารเคมี, #ข้าวปลอดสารพิษ, #ข้าวกล้องหอมมะลิ, #ข้าวหอมมะลิอินทรีย์, #ข้าวกล้องหอมมะลิอินทรีย์
0 notes
Text
แหวนพิรอดเก้ายอด หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว
แหวนพิรอดเก้ายอด หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี
แหวนพิรอดเก้ายอด มหามงคล หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว
สร้างตามตำราโบราณ เช่นเดียวกันกับกำไลแขน แหวนพิรอด วัดบ้านทวน ตามตำราโบราณบันทึกไว้ว่าทำจากผ้าดิบห่อศพ หรือผ้ามัดตราสัง เป็นการใช้ผ้าสูตรเดียวกับของหลวงพ่อม่วงแห่งวัดบ้านทวน แต่เอกลักษณ์การขึ้นถักทำรูปแหวนแตกต่างกัน น่าจะมาจากการแลกเปลี่ยนวิชากันของพระเถราจารย์ทั้งสองท่าน…
View On WordPress
0 notes
Photo
มาขอรับบริจาคยาจากวัดหนองบัวเพื่อส่งไปช่วยเหลือพี่น้องชาวกะเหรี่ยงที่มาอยู่ชายแดน กราบขอบพระคุณพระครูประโชติบุญรักษ์ เจ้าอาวาสวัดหนองบัว เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดตราด ที่เมตตาในการบริจาคครั้งนี้ Come to beg the medicines for donation to Koren people at border. Thank you very much for the kindness of the abbot of Nongbua temple that has donated. နယ္စပ္ရွိကိုရီးယားျပည္သူ���်ားကိုလွူဒါန္းရန္အတြက္ေဆးဝါးမ်ားေတာင္းခံလာပါ။ လွူဒါန္းခဲ့သည့္ Nongbua ဘုရားေက်ာင္း၏ၾကင္နာမွုအတြက္ေက်းဇူးတင္ပါသည္။ (at วัดหนองบัว อ. เมืองตราด) https://www.instagram.com/p/CNRrAAkhLzf/?igshid=1vauxkbl8yvz
0 notes
Photo
The guardian of the temple! 🐕 (at วัดศรีอุปลาราม (วัดหนองบัว)) https://www.instagram.com/p/CMZbXYmDZm4/?igshid=1oa1hkjxq5zfn
0 notes
Photo
ภายในอุโบสถ วัดหนองบัว https://www.instagram.com/p/CD72fa3jSzAr1JbisEnzr424ATzg1ndZVAyYgE0/?igshid=dcp59wl0n5bv
0 notes
Photo
at วัดหนองบัว ไทลื้อเมืองน่าน https://www.instagram.com/p/CDkl9f0nvDr/?igshid=14111jfdtxxll
0 notes
Photo
ที่หมายตรวจสอบสถานการณ์ภัยแล้ง ภายในพื้นที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์จังหวัดลพบุรี (ที่ วัดหนองบัว อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี) https://www.instagram.com/p/B0skvqTH0s9Up7IppFanOdp0wT2Ftr_-ATNMFw0/?igshid=1t3aksxrxsqw0
0 notes
Photo
วัดสวย ชอบเสียงเพล�� ร่มรื่น😉 #aeynheetiew (at วัดหนองบัว ไทลื้อเมืองน่าน) https://www.instagram.com/p/Bn-hKWXhgRAG4paKCu3zf1sn2U5C3AqQhD0PUc0/?utm_source=ig_tumblr_share&igshid=1bs3j8jevq7ku
0 notes
Photo
#มาส่งบุญ #นำซองมาถวายหลวงพ่อ #วันพระ #ชาวสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง #สาธุสาธุสาธุ🙏🙏🙏 (at วัดหนองบัว. ต กลอนโด. อ ด่านมะขามเตี้ย)
0 notes
Photo
สวยงามสมคำร่ำลือ 😊🙏🏻 #วัดเรืองแสง #ตะลอนอุบล #ช่องเม็ก #โขงเจียม #เขื่อนสิรินธร #ยโสธร #วัดหนองบัว #WatSirindhornWararam #tample #ubontown #UbonRatchathaniprovince #iphone6plus #photography #holiday #goodmood #lifestyle #feelgood #beautifulday #photoshoot #wat #instadaily #instafamous #instagood #instagram #instalove #instamood #iphoneography #photo #photography #photooftheday #picoftheday (at วัดสิรินธรวราราม ภูพร้าว จ.อุบลฯ)
#photoshoot#lifestyle#instagood#iphone6plus#ยโสธร#beautifulday#iphoneography#ช่องเม็ก#watsirindhornwararam#holiday#feelgood#instagram#ตะลอนอุบล#photo#instamood#photooftheday#goodmood#picoftheday#instadaily#instafamous#วัดหนองบัว#เขื่อนสิรินธร#photography#instalove#ubontown#วัดเรืองแสง#โขงเจียม#ubonratchathaniprovince#wat#tample
0 notes
Photo
สุดท้ายของชีวิตแต่ละคนก็ต้องได้ดอกไม้ดอกนี้ทุกคน... (ที่ วัดศรีอุปลาราม (วัดหนองบัว))
0 notes
Photo
ราตรีสวัสดิ์ Good night (at วัดหนองบัว อ. เมืองตราด) https://www.instagram.com/p/B8t5odeBgmb/?igshid=ewmqal5nq6x4
0 notes
Text
ปลายฝนต้นหนาว ขึ้นเหนือเที่ยวแบบไทยๆ เสพย์งานศิลป์ ยลจิตรกรรมฝาผนังที่เมืองน่าน
ปลายฝนต้นหนาว ขึ้นเหนือเที่ยวแบบไทยๆ เสพย์งานศิลป์ ยลจิตรกรรมฝาผนังที่เมืองน่าน
ใครที่มาเยือนเมืองน่านล้วนอยากมีโอกาสได้เห็นภาพจิตรกรรมฝาผนังกระซิบ��ักบันลือโลกภายในอุโบสถ-วิหารวัดภูมินทร์กันทั้งนั้น เพราะภาพดังกล่าวได้กลายเป็นสมือนสัญลักษณ์ของจังหวัดน่านไปกลาย ๆ
สมเด็จพระเทพรัตนฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อคราวเสด็จพระราชดำเนินจังหวัดน่านเมื่อปีพ.ศ. 2554 ได้วาดภาพเลียนแบบ “ภาพกระซิบรักบันลือโลก” พระราชทานให้กับเรือนจำชั่วคราว เขาน้อย และเมื่อได้เสด็จไปยังหอศิลป์ริมน่านทอดพระเนตรภาพวาดล้อเลียนกระซิบรักบันลือโลก ของ วินัย ปราบปูริ ศิลปินผู้ก่อตั้งหอศิลป์ริมน่าน ที่วาดภาพฝรั่งมาเที่ยวทำท่ากระซิบรักกัน ด้วยพระอารมณ์ขันจึงวาดภาพ “ตะโกน” เพื่อล้อเลียน ในภาพวาด “ตะโกน” นั้นผู้ชายไว้ผมทรงโมฮอร์กทำท่าตะโกน ส่วนผู้หญิงใส่ผ้าถุงเอามือป้องหูรับฟัง และทรงเขียนคำว่า “ตะโกน” ไว้ในรูปภาพ ซึ่งปัจจุบัน ทั้งภาพวาดเลียนแบบ และล้อเลียนของสมเด็จพระเทพรัตนฯ สยามบรมราชกุมารี ได้วางแสดงที่หอศิลป์ริมน่าน
ภาพ“ปู่ผรั่ง-ญ่าฝรั่ง” ศิลปิน วินัย ปราบริปู
ภาพกระซิบรัก สมเด็จพระเทพรัตนฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานให้กับเรือนจำชั่วคราว เขาน้อย ปัจจุบันแสดงที่หอศิลป์ริมน่าน
ภาพฝีพระหัตถ์ “ตะโกน”
ภาพกระซิบรักบันลือโลก มีขนาดใหญ่เกือบเท่าคนจริง ปรากฏบนผนังอุโบสถ-วิหารวัดภูมินท์อันเป็นวัดหลวงในเขตกำแพงเมืองน่าน
เมื่ออยากเห็น…. สถานที่แรกในเมืองน่านที่พวกเนสมุ่งตรงไปเยือนจึงเป็นวัดภูมินทร์
จิตรกรรมฝาผนังที่วัดภูมินทร์
วัดภูมินทร์เป็นวัดหลวงขนาดเล็ก ตั้งอยู่ใจกลางเมือง สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๑๓๙ และได้ทำการบูรณะครั้งใหญ่ในสมัยเจ้าอนันตรวรฤทธิเดช ระหว่างพ.ศ. ๒๔๑๐ – ๒๔๑๗เทียบเคียงง่าย ๆ ราวปลายสมัยรัชกาลที่ ๔ ลักษณะเด่นแปลกของวัดแห่งนี้ อยู่ที่ตัวอุโบสถและวิหารของวัดที่อยู่ร่วมอาคารทรงจัตุรมุขเดียวกัน มีประตูประจำมุขและบันไดรองรับทางเข้าออกตามทิศทั้งสี่
วัดภูมินทร์
ภาพวาดวัดภูมินทร์ ศิลปิน วินัยปราบริปู แสดงใน หอศิลป์ ริมน่าน
เมื่อยืนมองอุโบสถ-วิหารจากด้านนอกทางทิศตะวันออกหรือจะทิศตะวันตก จะเห็นตัวนาคพาดตัวตามแนวบันไดจากทางทิศเหนือไปยังทิศใต้อย่างเด่นชัด หัวนาคนั้นอยู่ทางทิศเหนือ หางนาคทอดยาวเป็นบันไดลงไปทางทิศใต้ จึงเหมือนกับว่านาคนั้นได้พาดตัวรองรับตัวอุโบสถ-วิหารไว้ ดูแปลกตา ทว่าลงตัว และงดงาม ทีเดียว
เอาล่ะ…
เราตั้งใจมายลภาพจิตรกรรมฝาผนังกันนี่นา เมื่อเป็นอย่างนั้นพวกเราจึงพากันถอดรองเท้าย่างก้าวเข้าไปด้านใน
ภายในอุโบสถ-วิหาร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ๔ องค์ บนฐานซุกชีหันพระพักตร์ออกด้านประตูทั้งสี่ทิศ และมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องราวชาดก ตำนานพื้นบาน และวิถีชีวิตของชาวเมืองน่านในอดีต
ภาพจิตรกรรมฝาผนังทั้งหมดเป็นศิลปะแบบชาวไทลื้อ ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่อพยพ มาจากดินแดนสิบสองปันนา หลวงพระบาง และล้านช้างนั่นทำให้ภาพวาดดูแปลกตา สังเกตดูใบหน้าผู้คน ลักษณะกลมแป้น คิ้วโค้ง นัยน์ตากรุ้มกริ่ม มองดูแล้ว มีชีวิตชีวา หากไล่เรียงดูประวัติการสร้างวัดภูมินทร์ในพงศาวดารเมืองน่านแล้ว ไม่มีข้อมูลระบุบ่งชัดว่า ช่างเขียนผู้วาดภาพจิตรกรรมฝาผนังคือใคร แถมยังเป็นการวาดภายหลังจากที่ได้มีการปฏิสังขรณ์ตัววัดครั้งใหญ่อีกด้วย จึงได้แต่คาดเดากันจากลักษณะภาพวาดว่าน่าจะเป็นผลงานของช่างเขียน หรือสล่าชาวไทลื้อ ซึ่งเข้าเค้าทีเดียว เพราะตามประวัติศาสตร์แล้ว เจ้าผู้ปกครองเมืองน่านมักทำสงครามกับเมืองเชียงใหม่ อยู่เนือง ๆ ผลัดกันแพ้ ผลัดกันชนะ เมื่อแพ้ทีใดก็จะหลบหนีไปยังล้านช้าง รวบรวมสรรพกำลังพลกลับเข้ามาตีเอาเมืองน่านกลับคืน เพราะวิถีเป็นบบนี้จึงมีชาวไทลื้อจากเมืองล้านช้างติดกองทัพกลับมาด้วย จนกลายเป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองน่าน
ภาพวาดภายในอุโบสถ-วิหาร เล่าเรื่องราวจาก “คัทธณะกุมารชาดก” เป็นหลักประสมกับ ตำนานพื้นบ้าน และความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีต และแน่นอนภาพที่โดดเด่นที่สุด คือภาพกระซิบรักบันลือโลกที่มีขนาดใหญ่เกือบเท่าคนจริง
ภาพวาดดังกล่าวเป็นภาพชายหนุ่ม หญิงสาวในชุดแต่งกายแบบพม่า ยืนกระซิบกระซาบ หยอกล้อ ส่งสายตากรุ้มกริ่มให้กัน โดยมีอักษรล้านนาโบราณเขียนกำกับไว้ด้านบน ถอดความได้ว่า “ ปู่ม่าน ญ่าม่าน”
คำว่า “ม่าน” ภาษาถิ่นล้านนาหมายถึงพม่า ขณะที่ “ปู่” และ “ญ่า”ใช้เป็นสรรพนามเรียกผู้ชายและผู้หญิง คำว่า “ปู่ม่านญ่าม่าน” จึงเชื่อว่าน่าจะหมายถึง “หนุ่มพม่า สาวพม่า”
ภาพ “ปู่ม่านญ่าม่าน” หรือ “กระซิบรักบรรลือโลก”
กริยา ท่าทาง และนัยน์ตาที่กรุ้มกริ่มนี่แหละ… ให้อารมณ์ดีนักเชียว เมื่อยืนอยู่เบื้องหน้าภาพจิตรกรรมดังกล่าวจึงไม่แปลกใจเลยว่าทำไมภาพวาดนี้จึงโด่งดังนัก และนั่นทำให้ใคร ๆ ใคร่อยากรู้ว่า ศิลปินที่วาดภาพนี้คือใครกันแน่ ข้อสันนิษฐานที่ดูจะน่าเชื่อถือและมีน้ำหนักมากที่สุดมาจากการสันนิษฐานของ “วินัย ปราบริปู” ศิลปินชาวน่านที่ได้ทำการเทียบเคียงภาพวาดในวัดภูมินทร์กับวัดหนองบัวที่เป็นวัดประจำหมู่บ้านหนองบัว อำเภอท่าวังผา แล้วพบว่าภาพวาดได้วาดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน ทั้งโครงสร้างสีที่ใช้มีความคล้ายคลึงกันอีก มีการใช้สีแดง น้ำเงิน และเหลือง เป็นหลัก ทั้งใบหน้า และฉากในภาพวาดยังเหมือนกันอีกด้วยเมื่อเป็นเช่นนั้น จึงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นฝีมือของศิลปินชาวไทลื้อคนเดียวกัน นั่นคือหนานบัวผัน
หากเดินดูภาพวาดทั้งหมดภายในอุโบสถ-วิหาร จะสังเกตเห็นว่า ภาพวาดของหนานบัวผันนั้นมีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่นจริง ๆ ตัวละครบนภาพวาดแสดงอารมณ์ความรู้สึกชัดเจน ผ่านใบหน้าที่กลมแป้น คิ้วเป็นรูปวงพระจันทร์ นันย์ตากรุ้มกริ่ม เวลาดีใจมุมปากที่เป็นรูปกระจับจะเชิดขึ้นทั้งสองข้าง และหุบลงเมื่อเศร้าเสียใจ
ทว่าภาพวาดบนผนังในอุโบสถ-วิหารวัดภูมินทร์ ไ��่ได้เป็นฝีมือของหนานบัวผันเพียงลำพัง ผนังด้านทิศใต้และตะวันตกบางส่วนเป็นฝีมือของช่างเขียนนิรนามคนอื่น เพราะมีฝีมือและทักษะที่อ่อนด้อยกว่าอย่างเห็นได้ชัด
และ…. เมื่อไหน ๆ ตั้งใจจะเที่ยวชมดูภาพจิตกรรมฝาผนังเมืองน่านแล้ว จะให้ครบถ้วน ต้องไปยลที่วัดหนองบัวต่อ
จิตรกรรมฝาผนังที่วัดหนองบัว
วัดหนองบัว ตั้งอยู่หมู่บ้านหนองบัว อำเภอท่าวังผา เป็นหมู่บ้านที่มีชุมชนชาวไทลื้ออาศัยเอยู่ป็นจำนวนมาก อยู่ถัดห���างจากอำเภอเมืองน่านไปราว 45 กิโลเมตร
เราไปเยือนวัดหนองบัวแต่รุ่งเช้า…. ทันทีที่ก้าวเข้าไปในเขตวัด ไม้ใหญ่เขียวครึ้มให้ความร่มรื่น ประสมกับ เสียงดนตรีพื้นเมืองที่บรรเลงโดยเหล่าคุณลุงในพื้นที่ที่จิตอาสามาล้อมวงเล่นด้วยกัน เพื่อต้อนรับผู้มาเยือน
เปิดบรรยากาศมาแบบนี้… ทำเอาเทใจให้กับความสงบร่มรื่น เรียบง่ายที่ปราศจากความเป็นพุทธพาณิชย์ไปสิบเต็มสิบเลยทีเดียว
วิหารวัดหนองบัวที่เห็นเบื้องหน้า ลักษณะหลังคาทรงจั่วเป็นชั้นลดหลั่น ตามแบบสถาปัตยกรรมแบบไทลื้อ บริเวณหน้าจั่วมีการใช้กระจกสีประดับประดาเป็นลวดลาย
วัดหนองบัว
วัดหนองบัว
เมื่อก้าวเข้าไปด้านใน ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ปรากฏ ใช้โครงสี และมีลักษณะการวาดที่คล้ายคลึงกับที่วัดภูมินทร์
ตามประวัติการสร้างวัด ไม่มีการระบุเช่นกันว่าใครเป็นผู้วาดภาพจิตรกรรมเหล่านี้แต่มีการเก็บรักษาภาพร่างด้วยหมึกในกระดาษสาพับ ที่ช่างเขียนจะใช้ร่างภาพก่อนวาดจริง ภาพร่างนั้นระบุว่าเป็นของ “หนานบัวผัน” เมื่อตรวจสอบพบว่าภาพร่างในนั้น ได้ปรากฏบนผนังที่วัดหนองบัว และวัดภูมินทร์ จึงเป็นหลักฐานที่ทำให้เชื่อว่า ช่างเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัดภูมินทร์และวัดหนองบัว เป็นฝีมือช่างเขียนคนเดียวกัน นั่นคือ “หนานบัวผัน”
คุณลุงท่านที่ได้เข้ามาต้อนรับเราตั้งแต่แรก ได้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพวาดในวิหาร เรื่องราวที่ร้อยเรียงบนผนัง ถอดเค้าโครงมาจากเรื่องจันทคาธชาดกอันเป็นชาดกที่ชาวล้านนา และล้านช้าง ใช้สอนเรื่องการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม การเป็นผู้มีกตัญญูรู้คุณคน ความซื่อสัตย์และความเมตตากรุณาและวัดแห่งนี้เป็นที่เดียวที่เขียนภาพจากชาดกเรื่องดังกล่าว
ขณะเดินชมดู นึกเสียดายที่คราวน้ำท่วมใหญ่เมื่อปี 2554 น้ำได้ไหลเข้าท่วมตัววิหาร ทำให้ภาพจิตรกรรมฝาผนังด้านล่าง ได้รับความเสียหายไปไม่น้อย
แม้เสียดาย แต่เห็นใบหน้าของคุณลุงที่เข้ามาให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัววัด รวมถึง บรรดาเหล่าคุณลุงทั้งหลายที่นั่งเล่นดนตรีกันด้านนอกแล้ว เชื่อมั่นว่า แม้นภัย��รรมชาติจะก่อให้เกิดความเสียหายไปบ้าง แต่วัดแห่งนี้ จะได้รับการดูแลรักษา จากผู้คนในท้องถิ่น ให้เป็นมรดกสืบทอดต่อไปถึงรุ่นลูก รุ่นหลานได้เป็นอย่างดี
เฮือนหนองบัวผัน เรือนแสดงภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนังในเมืองน่าน
สุดท้ายหลังจากได้เยี่ยมชมจิตรกรรมฝาผนังทั้งที่วัดภูมินทร์ และวัดหนองบัว การตามรอยจิตรกรรมเมืองน่านจะสมบูรณ์ยิ่งขึ้นหากได้ไปเยี่ยมชมหอศิลป์ริมน่าน หอศิลป์เอกชน ที่ก่อตั้งโดย วินัย ปราบริปูบนพื้นที่ 13ไร่ ริมทางถนนสู่เมืองน่าน ที่หอศิลป์ฯ นอกจากจะได้ชมภาพวาดเลียนแบบ และล้อเลียนภาพกระซิบรักบันลือโลก ผลงานของสมเด็จพระเทพรัตนฯ สยามบรมราชกุมารีและวินัย ปราบริปู แล้วภาพในเขตหอศิลป์ฯ ยังมีอาคาร “เฮือนหนานบัวผัน” ที่วินัย ปราบริปูสร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ “หนานบัวผัน” ศิลปินผู้เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ และ วัดหนองบัว โดยภาพในเรือนแสดงเป็นภาพถ่ายจากจิตรกรรมฝาผนังจากวัดภูมินทร์ วัดหนองบัว รวมถึงจิตรกรรมฝาผนังที่สำคัญอื่นในเมืองน่าน จัดแสดงอย่างถาวร เพื่อเป็นสถานที่ให้ผู้มาเยือนได้ตามรอยจิตรกรรมเมืองน่านอย่างสมบูรณ์
The post ปลายฝนต้นหนาว ขึ้นเหนือเที่ยวแบบไทยๆ เสพย์งานศิลป์ ยลจิตรกรรมฝาผนังที่เมืองน่าน appeared first on iUrban.
Credit: ปลายฝนต้นหนาว ขึ้นเหนือเที่ยวแบบไทยๆ เสพย์งานศิลป์ ยลจิตรกรรมฝาผนังที่เมืองน่าน Web: iURBAN Fanpage: facebook.com/iURBAN.in.th
0 notes
Photo
วัดหนองบัวแดง พระล้านนา (ที่ วัดหนองบัว ไทยลื้อ เมืองน่าน) https://www.instagram.com/p/CD72E5XD9Z9jGXAKJEd6FwOv5wMvvLjnZAQmBc0/?igshid=pv3h1tpl2njs
0 notes
Photo
จิตรกรรมฝาผนัง วิหารไทลื้อ วัดหนองบัว จังหวัดน่าน #TaiLue #mural #WatNongBua #Nan #Thailand #fineart (at วัดหนองบัว ไทลื้อเมืองน่าน) https://www.instagram.com/p/CDjinQZpIC4/?igshid=1os9apyish947
0 notes
Photo
**** ภาพประวัติศาสตร์ !! ....... สมัยสร้างโบสถ์วัดอโศการาม ท่านพ่อลี จ. สมุทรปราการ ...... ปี พ.ศ. 2500 >>>หลวงพ่อเคยบอกว่า " ไม่ว่าจะย้อนไปกี่ 10 ปี ก็ยังโมทนาได้ !! บุญไม่มีวันหมด. ....... พระเถรานุเถระศิษยานุศิษย์ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต บันทึกภาพร่วมกันในงานผูกพัทธสีมาอุโบสถ วัดอโศการาม บ้านนาแม่ขาว ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๓ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ ปีกุน แถวนั่ง จากซ้าย : หลวงปู่มหาปิ่น ชลิโต, หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน, หลวงปู่อ่อนสี ฐานวโร, หลวงปู่แว่น ธนปาโล, หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร, พระเทพวรคุณ (หลวงพ่ออ่ำ ภทฺราวุโธ), ท่านพ่อลี ธมฺมธโร, พระสุธรรมคณาจารย์ (หลวงปู่แดง ธมฺมรกฺขิโต), พระปลัดศรี (วัดมณีชลขัณฑ์ จ.ลพบุรี) และพระอาจารย์จันทร์ เขมปัตโต แถวกลาง จากซ้าย : พระอาจารย์ไสว, หลวงปู่หลวง กตปุญฺโญ, พระอาจารย์สวด, พระครูพรหมวิหาร, พระอาจารย์เม้า ธมฺมุตฺตโม, พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร), พระมหาสมจิตร จิตฺตวโร, พระครูญาณวิศิษฏ์ (ท่านพ่อเฟื่อง โชติโก), หลวงปู่ถวิล จิณฺณธมฺโม, พระอาจารย์บุญมี ปัญญาปทีโป และพระครูสัน (วัดป่าคลองกุ้ง จ.จันทบุรี) แถวหลัง จากซ้าย : พระครูธงชัย (วัดพุทธมงคลนิมิต จ.นครสวรรค์), หลวงปู่ฟัก สนฺติธมฺโม, พระอาจารย์ปทุม (วัดหนองบัว), พระอาจารย์สุพัฒน์ สุขกาโม และพระใบฎีกา (ตุ๋ย) หมายเหตุ... ในงานฉลองกึ่งพุทธกาล ๒๕ พุทธศตวรรษ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ณ วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ ยังไม่มีอุโบสถ ดังนั้น พระภิกษุสงฆ์ที่เข้าพิธีอุปสมบทในครั้งนั้น จึงได้อุปสมบทกันภายในเรือที่ลอยอยู่ในน้ำ . . ___________________ . Cr.เพจแชร์ธรรมะ พ่อแม่ครูบาอาจารย์
0 notes