Text
ขอบข่ายงานของศึกษานิเทศก์สู่การปฏิบัติ (ตอนที่ 2)
ขอบข่ายงานของศึกษานิเทศก์สู่การปฏิบัติ (ตอนที่ 2) ตัวอย่างการนิเทศการศึกษา: บูรณาการ 3 มิติเพื่อพัฒนาการศึกษาอย่างยั่งยืน ในการทำงานเป็นศึกษานิเทศก์ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาต้องทำงานแบบบูรณาการใน 3 มิติ เปรียบเสมือนการทอผ้าที่ต้องมีทั้งเส้นยืนและเส้นขวางที่แข็งแรง จึงจะได้ผืนผ้าที่มีคุณภาพ โดยสามารถอธิบายได้ดังนี้ มิติที่ 1: นโยบายสู่การปฏิบัติ (Agenda Based) ต้นปีงบประมาณ…
0 notes
Text
ขอบข่ายงานของศึกษานิเทศก์สู่การปฏิบัติ
ขอบข่ายงานของศึกษานิเทศก์สู่การปฏิบัติ ขอบข่ายงานของศึกษานิเทศก์ทั้ง 3 ด้าน ที่ต้องปฏิติในทุกปีงบประมาณ 1. การขับเคลื่อนตามนโยบาย (Agenda Based) คือ การดำเนินงานของศึกษานิเทศก์ที่มุ่งตอบสนองนโยบายเร่งด่วนและจุดเน้นจากหน่วยงานต้นสังกัด เช่น กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด เช่น งานที่ต้องดำเนินการตามนโยบายเร่งด่วนจากส่วนกลาง เช่น…
0 notes
Text
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2568-2569 หน้า 11 เล่ม 141 ตอนพิเศษ 309 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 พฤศจิกายน 2567
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2568-2569 หน้า 11 เล่ม 141 ตอนพิเศษ 309 ง ราชกิจจานุเบกษา 13 พฤศจิกายน 2567
0 notes
Text
เมื่อศึกษานิเทศก์ต้อง...เขียนแผนการนิเทศ
เมื่อศึกษานิเทศก์ต้อง…เขียนแผนการนิเทศ ความสำคัญของการเขียนแผนนิเทศ จากที่ผมได้ทำงานนิเทศมา สิ่งที่ค้นพบคือ แผนนิเทศเปรียบเสมือนแผนที่นำทางในการทำงานของเราเลยครับ เพราะงานนิเทศเป็นงานที่ละเอียดอ่อน ต้องทำงานกับคนหลายฝ่าย ทั้งผู้บริหาร ครู และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ลองคิดดูนะครับ ถ้า…เราไม่มีแผนนิเทศจะเป็นอย่างไร? สมมุติว่า… วันนี้ถ้าเราจะไปนิเทศโรงเรียน A พรุ่งนี้ไปโรงเรียน B…
0 notes
Text
ตัวอย่างแบบฟอร์มการเขียนวิสัยทัศน์การเป็นศึกษานิเทศก์
ตัวอย่างแบบฟอร์มการเขียนวิสัยทัศน์การเป็นศึกษานิเทศก์(ความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 / TH SarabunPSK / 16 pt) 1. บทนำ (1 ย่อหน้า – ประมาณ 10 บรรทัด) – สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความท้าทายทางการศึกษา– นโยบายและทิศทางการพัฒนาการศึกษาที่เกี่ยวข้อง– บทบาทความสำคัญของศึกษานิเทศก์ต่อการพัฒนาการศึกษา ตัวอย่าง “ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสังคมที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว…
0 notes
Text
TPACK Model และการประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
TPACK Model และการประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุก คำจำกัดความหลัก (Core Definition) “TPACK Model คือ กรอบแนวคิดที่แสดงความสัมพันธ์ของความรู้ 3 ด้าน ได้แก่ ความรู้ด้านเนื้อหา (Content Knowledge) ความรู้ด้านวิธีการสอน (Pedagogical Knowledge) และความรู้ด้านเทคโนโลยี (Technological Knowledge) ที่บูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล” คำจำกัดความเชิงทฤษฎี…
0 notes
Text
แนวทางการสอนเพื่อการสร้างความรู้ด้วยตนเองจากการเชื่อมต่อ (Connectivism)
แนวทางการสอนเพื่อการสร้างความรู้ด้วยตนเองจากการเชื่อมต่อ (Connectivism) ความรู้เกิดจากการเชื่อมต่อได้อย่างไร ทฤษฎีการเชื่อมต่อ Siemens (2004) ได้กล่าวถึงแนวทางของ “Learning Theory for digital age” เมื่อมนุษย์มีการเชื่อมโยงถึงกันและสามารถค้นหาความรู้จากแหล่งของข้อมูลได้อย่างรวดเร็วทำให้ความรู้ที่มีอยู่นั้นอายุสั้นลง ความรู้ที่ทันสมัยในปัจจุบันกลายเป็นความรู้ที่ล้าสมัยในเวลาอันรวดเร็ว…
0 notes
Text
แนว��ิดทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเชิงสังคม (Social Constructivism) เพื่องานวิชาการระดับ เชี่ยวชาญ
แนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเชิงสังคม (Social Constructivism) เพื่องานวิชาการระดับ เชี่ยวชาญ
0 notes
Text
แนวทางการ SWOT Analysis ในสถานศึกษา
แนวทางการ SWOT Analysis ในสถานศึกษา ความสำคัญของ SWOT Analysis ในสถานศึกษา ในโลกการศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สถาบันการศึกษาจำเป็นต้องมีเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการประเมินตนเองและวางแผนสำหรับอนาคต หนึ่งในเครื่องมือที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางคือ SWOT Analysis ซึ่งย่อมาจาก Strengths (จุดแข็ง), Weaknesses (จุดอ่อน), Opportunities (โอกาส) และ Threats (อุปสรรค) ทำไมต้องใช้ SWOT…
0 notes
Text
การพัฒนาการเรียนรู้ในยุค AI: มุมมองใหม่ผ่าน Bloom's Taxonomy
การพัฒนาการเรียนรู้ในยุค AI: มุมมองใหม่ผ่าน Bloom’s Taxonomy ในยุคที่เทคโนโลยี AI (Artificial intelligence) กำลังก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การศึกษาในทุกภาคส่วน รวมถึงในระดับอุดมศึกษามีความจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับความท้าทายใหม่ ๆ Bloom’s Taxonomy ถือเป็นแนวทาง และเป็นเครื่องมือที่ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย ในการประเมินระดับการเรียนรู้ และกำลังจะถูกนำมาประยุกต์ใช้ในบริบทของ AI (Artificial…
View On WordPress
0 notes
Text
คู่มือ ก้าวแรกของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning: PBL)
คู่มือ ก้าวแรกของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning: PBL) เนื้อหาที่น่าสนใจในเล่ม ก้าวที่ 1 การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning: PBL) ความหมายของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) หลักการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL) การเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (PBL)…
0 notes
Text
การจำแนกตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ด้านทักษะการคิดขั้นสูง
การจำแนกตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ด้านทักษะการคิดขั้นสูง
0 notes
Text
ชุดข้อมูลวิชาการมหกรรมรวมพลังนักสร้างการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อเด็กทุกคน “All for Education: Education For All ปลุกพลังปวงชนเพื่อเด็กไทยทุกคน”
ชุดข้อมูลวิชาการมหกรรมรวมพลังนักสร้างการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อเด็กทุกคน “All for Education: Education For All ปลุกพลังปวงชนเพื่อเด็กไทยทุกคน” เล่มที่ 1 หลักประกัน��ารสร้างโอกาสทางการศึกษา . พร้อมให้ดาวน์โหลดแล้วที่นี่ https://www.eef.or.th/all-for-education-2024/ เล่มที่ 2 หน่วยจัดการเรียนรู้ : ปลดล็อก – ยกระดับ – ปรับตัว เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับทุกคน เล่มที่ 3…
0 notes
Text
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกที่ส่งเสริมพหุปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพ
พหุปัญญา (Multiple Intelligence) พหุปัญญา (Multiple Intelligence) เป็นทฤษฎีที่เสนอโดย Howard Gardner นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ในปี 1983 ทฤษฎีนี้เสนอว่าความฉลาดของมนุษย์ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ความสามารถทางด้านภาษาและตรรกะ-คณิตศาสตร์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงความสามารถในด้านอื่นๆ ด้วย คำนิยามของพหุปัญญา พหุปัญญา คือ แนวคิดที่มองว่าสติปัญญาของมนุษย์มีหลากหลายรูปแบบ…
0 notes
Text
แนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาตามแนวทางทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนอนุบาลเอช้วน อ.เมือง จ.กระบี่
เมื่อผมได้ฟัง ผอ.โรงเรียนอนุบาลเอช้วน อ.เมือง จ.กระบี่
0 notes
Text
จากตัวชี้วัดสู่…การออกแบบการเรียนรู้เชิงรุก
จากตัวชี้วัดสู่…การออกแบบการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวาและตื่นตัว (ราชบัณฑิตยสถาน. 2555: 10) ขั้นตอนการดำเนินการ วิเคราะห์ตัวชี้วัด ออกแบบการเรียนรู้ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ ลิ้งค์ดาวน์โหลดเอกสาร https://drive.google.com/…/1WSubyuEpt4RPZJx3tp6…/view…
0 notes
Text
การวิจัยและพัฒนา (R & D)เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้
“หนังสือเล่มนี้เป็นคู่มือสำคัญที่ครูและผู้บริหารต้องมี เพื่อพัฒนาการศึกษาและสร้างงานวิจัยที่ทรงคุณค่า โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล “ “การวิจัยและพัฒนา (R & D)เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้” ประกอบด้วย แนวคิดหลักการของการวิจัยและพัฒนา ความสำคัญของการวิจัยและพัฒนา การวิจัยและพัฒนาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 การวิจัยและพัฒนาทางหลักสูตรและการเรียนรู้…
View On WordPress
0 notes