cryptogenznews
Cryptogenznews
2 posts
Don't wanna be here? Send us removal request.
cryptogenznews · 2 years ago
Text
ทะลวงโปรเจกต์ MetFi อ้างลงทุน NFT บังหน้า“แชร์ลูกโซ่”
ปัจจุบันมีโปรเจกต์ที่เกี่ยวข้องกับโลกการเงินดิจิทัลมากมาย เช่น ในโลก DeFi หรือ Decentralized Finance คือ บริการทางการเงินที่สามารถทำธุรกรรมแบบกระจายศูนย์ได้โดยไม่ผ่านตัวกลาง ซึ่งข้อดีที่มักถูกนำมาพูดถึงว่า“สามารถตรวจสอบข้อมูลการทำธุรกรรม” แบบ On Chain ได้
ว่าใครโอนให้ใครจากกระเป๋าเงินคริปโทใบไหน นั่นแปลว่าเราสามารถเห็นวงจรของพฤติกรรมที่เข้าข่าย แชร์ลูกโซ่ ได้ด้วย
อ้างลงทุน “เมตาเวิร์ส-NFT”
นักวิคราะห์ในวงการคริปโทชวนสงสัยจาก MetFi ไม่มีธุรกิจที่เป็นรูปธรรมรองรับ และอ้างว่าเป็น Decentralized Autonomous Organization (DAO) ที่เปิดตัวบน Binance Smart Chain เมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2565 และระบุบนเว็บไซต์ https://metfi.io/ ว่านักลงทุนจะได้รับอัตราผลตอบแทนต่อปีคงที่ รวมทั้งมีการลงทุนในเทคโนโลยีเว็บ 3 อย่างเกมส์ใน“เมตาเวิร์ส” ซึ่งเป็นการลงเพียงน้อยนิดและไม่ได้จริงจังเมื่อเทียบกับปริมาณเงินมหาศาลที่ระดมทุนผ่านโปรเจกต์ไป
รวมทั้งการชวนลงทุนใน NFT(Non-Fungible Token) ที่มีความแตกต่างจาก NFT ทั่วไปที่เราคุ้นเคยกันในตลาด เราเข้าใจกันดีว่า NFT ที่ถูกซื้อขายเก็งกำไรและเก็บสะสมตอนนี้ส่วนใหญ่ถูกใช้ในวงการศิลปะที่มีความยูนีค ไม่เหมือนใคร และผู้ครอบครองมีเพียงชิ้นเดียวในโลก แต่ NFT ของ MetFi มีรูปแบบการซื้อขายที่แตกต่างออกจากตลาดปกติโดยการซื้อ NFT 1 ชิ้น มีราคาที่แตกต่างกัน เริ่มต้นตั้งแต่ ขึ้นอยู่กับระดับในการจ่ายเงิน หรือระดับในการลงทุน ซึ่งผู้ซื้อจะได้รูปภาพ NFT แบบเดียวกับคนอื่นและไม่มีความเป็นหนึ่งเดียวตามคุณสมบัติของ NFT โดยโครงสร้างผลตอบแทนจากโปรเจกต์นี้มาจาก
1.การลงทุน NFT ที่การันตีผลตอบแทน
2.ผลตอบแทนจากการ Stake โทเคนประจำระบบนิเวศน์อย่าง MFI ที่บังคับวางเหรียญ ซึ่งหากต้องการถอนออกจะเสียค่าถอนราวๆ 10-20% ซึ่งจะได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้นๆทุกๆ 12 ชั่วโมง
ดึงข้อมูลบล็อกเชนเปิดโปงแชร์ลูกโซ่
ขณะนี้ข้อมูลการลงทะเบียนเข้าแพลตฟอร์ม MetFi ของนักลงทุนชาวไทย ที่ตรวจสอบการทำธุรกรรมของTransaction โดยใช้สมาร์ตคอนแทรกดึงข้อมูลออกมาจากระบบบล็อกเชน ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระเป๋าเงินที่นำ MetFi เข้ามาสู่กลุ่มคนในประเทศไทย
ซึ่งเห็นความเคลื่นไหวครั้งแรกตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม จากที่อยู่กระเป๋าเงินคริปโทใบหนึ่งมีการทำธุรกรรมผ่านบล็อกเชนพร้อมกับแนบลิงก์ที่เกี่ยวกับโปรเจกต์ และเพิ่มจำนวนขึ้นกว่า 3,000 คนในปัจจุบัน
โดยที่ลิงก์ดังกล่าวที่ถูกส่งจากผู้เริ่มต้นของห่วงโซ่ ไปยังนักลงทุนคนอื่นๆ หรือ“ลูกข่าย”ที่เพิ่มขึ้นๆ พบว่า“แม่ข่าย”หรือผู้ที่เริ่มต้นจากคนไทยคนแรก จะได้รับค่าคอมมิชชันอย่างทวีคูณ จากนักลงทุนคนใหม่ๆที่เข้ามาซื้อ NFT ประมาณ5-10% ของราคา NFT นั้นๆ ซึ่งคาดว่าขณะนี้แม่ข่ายมีรา��ได้เฉลี่ยตั้งแต่เดือน ส.ค.ที่เข้ามาในประเทศไทยวันละ5,000 บาทและมีรายได้ทั้งหมดตีเป็นมูลค่ากว่า 3 ล้านบาท
รูปแบบการลงทุน“แม่ข่าย-ลูกข่าย”
เมื่อมีผู้ที่เริ่มต้นเข้ามาลงทุนในครั้งแรกๆ ได้รับผลตอบแทนจริงตามที่โปรเจกต์อ้างด้วยการซื้อ NFT กุ้ง ปู ปลา ปลาฉลาม ปลาวาฬ และการันตีผลตอบแทนสูงถึง 100 - 1000% ต่อปี ยิ่งหาลูก ๆ ใหม่ได้มาก และยิ่งupgrade NFTของตัวเองให้สูงขึ้น ยิ่งมีโอกาสได้ผลตอบแทนมาก แต่ของต้อง stake ไว้สูงถึง 5 ปี เพื่อให้ได้ผลตอบแทนมาก จึงทำให้ผู้ที่ได้รับประโยชน์ในขั้นแรกเชิญชวนลงทุนจากความมั่นคงของ MetFi หรือชวนลงทุนเพื่อให้ตนเองได้กำไรจากการหา“ลูกข่าย”
ทั้งนี้“แม่ข่าย”ในประเทศไทย ใช้ความน่าเชื่อถือจากการเป็น“อดีตนายทหาร” และมีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโปรเจกต์เพื่ออธิบายเรื่องยากเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้เป็นเรื่องง่ายตามหัวเมืองในต่างจังหวัด นั่นสะท้อนว่ากลุ่มคนที่เข้ามาลงทุนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้เรื่องสินทรัพย์ดิจิทัลมาก่อน พร้อมกับมัดมือชกอาสาเป็นผู้สมัครกระเป๋าเงินคริปโท และทำธุรกรรมแบบ P2P เพื่อลดอุปสรรคของการลงทุนในโปรเจกต์
อย่างไรก็ตาม แม้ว่า “แชร์ลูกโซ่” ในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลจะยังมีอยู่และเกิดขึ้นทุกวัน แต่โปรเจกต์ MetFi มีความเสี่ยงสูงในการเป็น “แชร์ลูกโซ่” ซึ่งมีรูปแบบข้อมูลที่น่าสนใจ แต่ใน Whitepaper ที่ถูกเขียนขึ้นกลับไม่มีที่มาที่ไปของผู้ริเริ่ม และไม่มีธุรกิจรองรับที่เราสามารถมองเห็นเป็นรูปธรรม
แม้ว่าเราจะสามารถติดตามเรื่องราวที่เกิดขึ้นผ่านบล็อกเชนได้ แต่สามารถเก็บหลักฐานได้ยาก และยังยากในการติดตามเอาผิด ในท้ายที่สุดถ้าคุณเป็นนักลงทุนที่ได้รับความเสียหาย คุณจะไม่สามารถร้องเรียนหรือดำเนินการทางกฎหมายได้ เนื่องจากเคยได้รับผลประโยชน์และไม่มีกฎหมายตายตัวที่เข้ามาคุ้มครอง
0 notes
cryptogenznews · 3 years ago
Text
La lotería del bitcóin
Tumblr media
Cripto es una voz de origen griego que significa «oculto, escondido», y las criptomonedas son un fenómeno reciente (nacido en 2009) vinculado a la innovación tecnológica del que muchos hablan pero pocos entienden. El bitcóin es la reina de las criptomonedas. Creado en 2008 por una persona o grupo de personas cuya identidad se desconoce —solo se sabe que el protocolo lo creó el misterioso Satoshi Nakamoto— es uno de los activos de moda en el mundo de la inversión pese a no generar riqueza de manera directa y no estar respaldado por ningún país, empresa, asociación o individuo. Mucha gente asiste atónita al auge de esta y otras criptomonedas (se calcula que existen unas 4.000, la mayoría practicamente inoperativas).
El bitcóin rompe paradigmas. No es creado por el banco central del país de turno, sino por miles de ordenadores ubicados en lugares ignotos y manejados por personas anónimas. Estas, utilizando máquinas con gran capacidad de procesamiento, se valen del blockchain —una tecnología abierta que usa redes de computadores interconectados— para realizar complejas operaciones matemáticas que acaban con la generación de bitcóins. Es lo que se conoce como minería.
Los mineros son recompensados con bitcóins por su formación, trabajo y costes. Estos no son pequeños. En junio la guardia civil detuvo en Catarroja a un creador de bitcóins que dedicaba cien ordenadores a minar. Aunque esta es una operación legal, el emprendedor se había conectado a la red de manera fraudulenta y está acusado de estafar 20.000 euros a la compañía eléctrica. Las alarmas se activaron por el frecuente sobrecalentamiento del sistema, que provocó varios saltos del diferencial en la zona. La nave de la minería consumía tanta energía como el resto de empresas del polígono industrial juntas.
El efecto del bitcóin sobre el medio ambiente es uno de los debates del momento. Según un estudio de la Universidad de Cambridge, la generación de esta criptomoneda es responsable del 0,55% del consumo global de energía anual. El mismo que un país como Suecia. Otras investigaciones, sin embargo, recalcan que la mayor parte de la producción se realiza en zonas con fuerte uso de energías renovables, básicamente el sudoeste de China y Escandinavia, con lo que la actividad sería sostenible. Un debate que, en el fondo, no afecta a su viabilidad económica.
Sostenible o no, lo bien cierto es que los bitcóins creados son almacenados —los atesora su creador— o salen al mercado. Y este mercado es el más libre o salvaje (según a quién se pregunte) que ha existido en el mundo de las finanzas desde hace tiempo. La actividad se desarrolla sin apenas supervisión de los reguladores estatales, la volatilidad es extrema y, como es sabido, nadie responde por esta criptomoneda. Si por alguna circunstancia —que sus apologistas reputan imposible— el sistema colapsa o el valor del activo tiende a cero no hay ventanilla a la que acudir, ni siquiera persona u organización a la que criticar.
Aun así, de momento la fiebre del bitcóin está lejos de remitir. Una unidad está valorada a mitad de junio en 36.000 dólares. En el último año, el valor ha oscilado entre los 9.000 y los 65.000 dólares. El último terremoto lo provocó China el pasado 21 de junio al prohibir a sus bancos ofrecer productos o servicios en esa moneda y declarar la guerra a la granjas de minado. La decisión afectó a todas las criptomonedas: Bitcóin perdió 19% en 48 horas, Ethereum 21,71%, ETH un 22%, Dogecoin, 19%…
Se han hecho (y se han podido perder) fortunas invirtiendo o especulando en la criptomoneda, pese a que sus críticos advierten de su inutilidad y de un posible colapso, al menos como divisa. No serviría ni como medio de intercambio (para pagar a cambio de bienes y servicios) ni como unidad de cuenta (medida estándar y de uso común para expresar magnitudes económicas) y ni siquiera como reserva de valor, al no tener un emisor estable detrás ni ningún valor intrínseco a diferencia de, por ejemplo, el oro, un refugio histórico para inversores de todo el mundo.
1 note · View note