#ศึกษา
Explore tagged Tumblr posts
Video
youtube
บ๊อบรถไฟ | เพลงมิตรภาพ | เพลงสำหรับเด็ก | Bob And Friends | Rhyme For Kids | Friendship Song
#เด็ก#เรียนรู้วิดีโอ#วิดีโอเด็ก#โรงเรียนอนุบาล#ศึกษา#เด็กวัยหัดเดิน#kindergarten#nurseryrhymes#BobthetrainThailand
0 notes
Quote
อาตมาจะให้หลักที่จำได้ง่าย ๆ ก่อนว่า ยิ่งศึกษาพุทธศาสนา จะยิ่งไม่รู้พุทธศาสนา
พุทธทาสภิกขุ, ธรรมสากัจฉา หัวข้อ ‘เราควรจะเข้าใจธรรมะอย่างไร’ ณ หอประชุมคุรุสภา, 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507
0 notes
Text
ภาพรวมของระบบการศึกษาของอินเดีย (การศึกษาในประเทศอินเดีย)
ระบบการศึกษาในสาธารณรัฐอินเดีย แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้1. ระดับอนุบาล (Kindergarden)เป็นการศึกษาในระดับเด็ก ที่มีอายุ ระหว่าง 3-5 ปี ซึ่งไม่ใช่ภาคบังคับ แต่เพื่อเตรียมเด็กให้พร้อมที่จะเข้ารับการศึกษาในระดับประถมศึกษา2. ระดับประถมศึกษา (Primary Eduction)เป็นการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งรัฐบาลอินเดียกำหนดไว้สำหรับเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 14 ปี อายุเฉลี่ยของเด็กที่เรียนในชั้นนี้ระหว่าง 6 - 10 ปี หรือ 6 - 11 ปี หลักสูตร 5 - 6 ปี (grade 1 - 6)3. ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education)แบ่งเป็น 2 ระดับคือระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 11 - 14 ปี หรือ 11 - 15 ปี กำหนดระยะเวลาศึกษาไว้ 4 - 5 ปี (grade 6 - 10 หรือ grade 7 - 10) เมื่อนักเรียนสอบผ่านจะได้รับ Secondary School Certificateระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (Higher School Education) สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 16 - 17 ปี กำหนดระยะเวลาศึกษาไว้ 2 ปี(grade 11 - 12) เมื่อนักเรียนสอบผ่านระดับนี้จะได้รับ Higher Secondary Education Certificate หรือ Senior School Certificateรวมระยะเวลาศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็น 10+2 ปี หรือ 12 ปี (grade 1 - 12) เมื่อนักเรียนจบ grade 12 แล้วหากประสงค์จะเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา จะต้องสอบผ่าน Public Exam ซึ่งดำเนินการโดย Board of Education ของรัฐแต่ละรัฐสำหรับนักเรียนไทยที่จบชั้นมัธยมตอนปลาย (ม.6) จากประเทศ���ทยเทียบได้เป็น grade 12 และในการสมัครเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาของอินเดียนั้น ไม่ต้องสอบ Public Exam ทางมหาวิทยาลัยจะพิจารณารับเข้าเรียนโดยดูคะแนนเฉลี่ยตลอดหลักสูตรของนักเรียนจาก Transcript เท่านั้น4. ระดับอาชีวศึกษา (Vocational Eduction)การศึกษาในระดับนี้จัดขึ้นสำหรับผู้ที่มีความถนัดทางช่างฝีมือ หรือวิชาชีพเฉพาะทาง ซึ่งไม่ประสงค์หรือไม่สามารถศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาที่เปิดสอนได้แก่ ช่างไฟฟ้า ช่างวิทยุ ช่างก่อสร้าง ช่างเครื่องยนต์ การบัญชี เลขานุการ ฯลฯ ซึ่งดำเนินการโดยรัฐบาลและเอกชน หลักสูตรระยะสั้น 6 - 12 เดือน หลักสูตรระยะยาว 2 - 4 ปี ผู้ที่จบ grade 10 มีสิทธิเข้าศึกษาได้ แต่โรงเรียนเหล่านี้จะใช้ภาษาท้องถิ่นคือภาษาฮินดี (Hindi) ในการเรียนการสอน ดังนั้นนักเรียนไทยจึงไม่นิยมไปศึกษาระดับนี้5. ระดับอุดมศึกษา (Higher Education)มหาวิทยาลัยในอินเดียเป็นของรัฐทั้งสิ้น แต่ละมหาวิทยาลัยประกอบด้วย College มากมาย College บางแห่งเป็นของเอกชนซึ่งอยู่ในความควบคุมทั้งด้าน หลักสูตรการศึกษาและการสอบไล่ของมหาวิทยาลัย กล่าวคือ เมื่อสิ้นปีการศึกษามหาวิทยาลัยก็จะจัดสอบและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สอบได้ การศึกษาในระดับอุดมศึกษามีดังนี้คือ1) ระดับปริญญาตรี (Bachelor&quoat;s Degree) หลักสูตรปริญญาตรี โดยทั่วไปกำหนดระยะเวลาศึกษาไว้ 3 ปี ซึ่งได้แก่ ปริญญาตรี ทางศิลปศาสตร์ (B.A.) วิทยาศาสตร์ (B.Sc.) พาณิชยศาสตร์ (B.Com) เภสัชศาสตร์ (B.Pharm บางแห่ง 4 ปี) แต่ยังมีหลักสูตรปริญญาตรีที่กำหนดจำนวนปีการศึกษาแตกต่าง จากนี้คือปริญญา 4 ปี ได้แก่ สาขาวิชาทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และเภสัชศาสตร์ (บางมหาวิทยาลัย)ปริญญา 5 ปี ได้แก่ สัตวศาสตร์ สถาปัตยกรรม และศิลปกรรมศาสตร์หลักสูตรปริญญาตรี บางหลักสูตรต้องสำเร็จปริญญาตรีบางสาขามาก่อนแล้ว มาต่อหลักสูตรเหล่านี้อีก 3 ปี ได้แก่ หลักสูตรนิติศาสตร์ (LL.B.) และสำรับการศึกษา (B.Ed) และพลศึกษา (B.P.Ed) เรียนต่ออีก 1 ปีหลักสูตรแพทยศาสตร์ กำหนดระยะเวลาศึกษา 4½ ปี หลังจากศึกษา Pre-Medical Program (หลักสูตร 1 ปี) และต้องฝึกงาน (Internship หรือ Housemanship) อีก 1 ปี รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 6½ ปี (บางมหาวิทยาลัยไม่กำหนดให้เรียน Pre-Medical Program ก่อนเรียนหลักสูตร แพทยศาสตร์ ดังนั้นระยะเวลาเรียนทั้งสิ้น 5½ ปี)2) ระดับปริญญาโท (Master&quoat;s Degree) หลักสูตรปริญญาโท ประมาณ 2 ปี ต่อจากปริญญาตรี ยกเว้นสาขาวิชาการศึกษา (M.Ed)และพลศึกษา (M.P.Ed) ซึ่งกำหนดระยะเวลาศึกษาไว้ 1 ปีต่อจากระดับปริญญาตรี3) ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) เป็นการศึกษาในระดับก่อนเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก ซึ่งกำหนดระยะเวลาศึกษาไว้ 1 ปี เป็นการศึกษาทั้ง Course Work และเขียน Thesis ด้วย มหาวิทยาลัยบางแห่งได้กำหนดให้���ักศึกษาต้องได้รับ M.Phil ก่อนเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก4) ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) หลักสูตรปริญญาเอกประมาณ2 - 3 ปี สำหรับการเรียนการสอนนั้น สถานศึกษาบางแห่งกำหนดให้เรียน Course Work และเขียน Thesis แต่บางแห่งให้ทำ Research ตามหัวข้อที่อาจารย์ที่ปรึกษาอนุมัติเท่านั้นภาคการศึกษาในสาธารณรัฐอินเดียภาคการศึกษาสำหรับนักเรียนในโรงเรียนและนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะไม่เหมือนกัน และการเปิดเรียนของแต่ละโรงเรียนอาจแตกต่างกันตามสภาพของภูมิภาคที่โรงเรียนตั้งอยู่ ซึ่งบางโรงเรียนอาจเปิดเร็วหรือช้ากว่าที่กำหนดนี้เข้ารับการรักษาในบางโรงเรียนจะเริ่มขึ้นในเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมและบางเมษายน-กรกฎาคมของแต่ละปีเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยรวมทั้งจะเริ่มขึ้นในเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมและมหาวิทยาลัยบางอย่างในเดือนเมษายนถึงเดือนกันยายนสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าศึกษาต่อประเทศอินเดียคุณสามารถติดต่อเราได้ที่ [email protected] หรือ [email protected]โทรศัพท์: +918605959450 (Viber และ WhatsApp)
2 notes
·
View notes
Text
ขอเชิญสมัครเข้าร่วมแข่งขันคณิตคิดเร็ว และ ภาษาอังกฤษชิงแชมป์ประเทศไทย ครั้งที่ 14
PAMA THAILAND ขอเชิญสมัครเข้าร่วมแข่งขันคณิตคิดเร็ว และ ภาษาอังกฤษชิงแชมป์ประเทศไทย ครั้งที่ 14 สำหรับนักเรียนระดับอนุบาล ถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย และบุคคลทั่วไป (ไม่จำกัดอายุ!!!) เพื่อคัดเลือกตัวแทน แข่งขันจินตคณิตนานาชาติ ณ ฮ่องกง พบกับกิจกรรมสร้างสรรค์ต่าง ๆ มากมาย และ รางวัลสนับสนุน การศึกษามากกว่า 100,000.- บาท สมัครได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สนใจสอบถาม PAMA THAILAND โทร. 089-893-7717, 02-526-3662 รายละเอียดการแข่งขันสามารถติดตามได้ที่ www.thailandmastermatch.com และ Fanpage Facebook : https://www.facebook.com/ThailandMasterMatch
#การศึกษา#ศึกษา#การเรียน#match#english#การแข่งขัน#แข่งขัน#ชิงแชมป์#ประเทศไทย#แจ้งวัฒนะ#ความคิด#สมอง#นักเรียน#นักศึกษา#อนุบา#KFC#Proweb#CWM#RCC#LH BANK#centralplaza
0 notes